ทดสอบความสามารถ ai -pdf (ไม่เเก้ไข)

·

69 min read

คณะอนุกรรมการติดตามสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ

ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแกไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

คณะอนุกรรมการติดตามสิทธิผูสูงอายุตามพระราชบัญญัติ ผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยกรมกิจการผูสูงอายุ

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ

ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

คณะอนุกรรมการติดตามสิทธิผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ

รวมกฎหมาย / ประกาศ / ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

จัดพิมพ์โดย

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ที่อยู่

กรมกิจการผู้สูงอายุ ๑๐๓๔ อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนคงของมนุษย์ (อาคารใหม่) ชน ๖ ถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐

โทรศัพท์ : ๐-๒๖๔๒-๔๓๓๖-๙ โทรสาร : ๐-๒๖๔๒-๔๓๓๗Website :https://www.dop.go.th

E-mail :older@dop.mail.go.th,saraban@dop.mail.go.th

คำนำ

พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม ๑๒๐ ตอนที่

๑๓๐ ก ลงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดยมีสาระส�าคัญ ๔ เรื่อง คือ คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ (กผส.) สิทธิผู้สูงอายุ การลดหย่อน ภาษีเงินได้ และกองทุนผู้สูงอายุ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายและที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติจะต้องออกกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ เพื่อรองรับการด�าเนินงาน ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ ในฐานะ หน่วยงานหลักในการปฏิบัติภารกิจตามกฎหมาย จึงได้ทบทวนและรวบรวมกฎหมาย/ประกาศ/ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ที่มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว เพื่อให้ทราบถึงผลการด�าเนินงานของ หน่วยงานในการนา� กฎหมายไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยหวังเป็นอย่างยงว่าจะเป็นประโยชน์ ต่อผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไป รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ

**๒๕๖๕
**

ประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี

สารบัญ

**หน้า
**

เรื่อง การก�าหนดหน่วยงานผู้มีอ�านาจหน้าที่รับผิดชอบด�าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง

การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑

ประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี

เรื่อง การก�าหนดหน่วยงานผู้มีอ�านาจหน้าที่รับผิดชอบด�าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒

ประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี

เรื่อง การก�าหนดหน่วยงานผู้มีอ�านาจหน้าที่รับผิดชอบด�าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓

การคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ

สิทธิผู้สูงอายุ

มาตรา ๑๑ (๑)

- ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้ โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๙

- ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้ โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๐

- ประกาศโรงพยาบาลโรงงานยาสูบ เรื่อง การบริการเพื่อความสะดวก

และรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ ๑๑

- ประกาศฝ่ายการแพทย์ การไฟฟ้านครหลวง เรื่อง การให้บริการผู้สูงอายุ

ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๒

- แนวทางการก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม

การสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามมาตรา ๑๑ (๑) (๘) (๙) ของส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ๑๔

- ประกาศส�านักงานแพทย์ การรถไฟแห่งประเทศไทย เรื่อง การให้บริการ

ผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๖

สารบัญ (ต่อ)

- ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุน ผู้สูงอายุในด้านการบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข ด้านการศึกษา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิต ด้านการประกอบอาชีพ หรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม

- ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

มาตรา ๑๑ (๒)

- ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการส่งเสริม และสนับสนุนข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อ การด�าเนินชีวิตของผู้สูงอายุ

- ประกาศกระทรวงวัฒนธรรม เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการคุ้มครอง

การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในส่วนที่เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

- ประกาศส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนผู้สูงอายุในการพระพุทธศาสนา และข้อมูลข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิต

มาตรา ๑๑ (๓)

- ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในการประกอบอาชีพและฝึกอาชีพที่เหมาะสม

- ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ขอความร่วมมือส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีงานท�า

มาตรา ๑๑ (๔)

- ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการพัฒนาตนเอง และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน

มาตรา ๑๑ (๕) (๖)

- ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการอ�านวยความสะดวก และความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในการบริการสาธารณะอื่น

เล่ม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๕๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๕๓

ประกาศสํานกนายกรัฐมนตรี

เร่ือง การกําหนดหน่วยงานผูม้ ีอํานาจหนาท่ีรับผิดชอบ

ดําเนินการเกี่ยวกับการค ครอง การส่งเสริม และการสนบสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ

ตามพระราชบัญญัติผูส้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงการกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการ

เก่ียวกับการค

ครอง การส่งเสริม และการสนบสนุนผู

ูงอายุในด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

อาศยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคสอง และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ นายกรัฐมนตรีออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ให้ยกเลิกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดหน่วยงานรับผิดชอบในการ ดําเนินการตามพระราชบัญญัติผูส้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

ข้อ ๒ ให้การดําเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอาย ในดานต่าง ๆ ตามมาตรา ๑๑ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ อยู่ในอํานาจ

หนาท่ีรับผิดชอบของหน่วยงานตามที่กําหนดไว้ในตารางแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งน อํานาจหน้าท่ีในการ

ดําเนินการดังกล่าวเฉพาะภารกิจท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ หรือการควบคุม หรือการกํากับดูแล ของหน่วยงานนั้น ๆ

ขอ้ ๓ ใหบรรดาประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุของหน่วยงานตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดหน่วยงาน รับผิดชอบในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ซึ่งออกโดยอาศัยอํานาจตามมาตรา ๑๑ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

ท่ีใช้อยู่ก่อนหรือในวันที่ประกาศนี้ใช ังคับ ยงคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกบประกาศฉบบนั

ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี

หน้า ๒

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๒๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๖ มิถุนายน ๒๕๖๑

ประกาศสํานกนายกรัฐมนตรี

เร่ือง การกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าท่ีรบผิดชอบดําเนินการเก่ียวกบการคุ้มครอง การส่งเสริม

และการสนับสนุนผู้สูงอายุ ตามพระราชบญญัติผ

พ.ศ. ๒๕๖๑

ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับที่ ๒)

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการ เกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

(ฉบับท ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบกับมติคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๑

เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพ ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ นายกรัฐมนตรีออกประกาศไว้ ดังต่อไปน

ข้อ ๑ ให้กระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการดําเนินการ เรื่อง การจ่ายเงิน สงเคราะห์เพื่อการยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุท่ีมีรายได้น้อยตาม (๑๑/๑) ของมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัต

ผู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญญ ิผู้สูงอายุ (ฉบบทั ี่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

ข ๒ ให้ยกเลิกความในลําดับท ๑๖ ของตารางแนบท้ายประกาศสํานักนายกรฐมนตรีั

เรื่อง กําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการเก่ียวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และ การสนับสนุนผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความตามตาราง แนบท้ายประกาศนี้แทน

ขอ้ ๓ ประกาศนี้ให้ใชบ้ ังคบตังแต่วันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ ว ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

หนา ๑

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๙๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒

ประกาศส านักนายกรัฐมนตรี

เรื่อง การก าหนดหนว่ ยงานผู้มีอ านาจหนาที่รับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนบสนนผู้สูงอายุในด้านตาง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑

ในการประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ คร้ังที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2561 ที่ประชุมได้เห็นชอบให้ก าหนดสิทธิเพิ่มให้แก่ผู้สูงอายุตามมาตรา 11 (13) ของพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยการก าหนดหน่วยงานผู้มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น เพ่ือการดูแลระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

เพื่อให้การด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 11 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้เพิ่มล าดับที่ ๒๑ ของตารางแนบท้ายประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนด หน่วยงานผู้มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุน ผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยให้ใช้ความ ตามตารางแนบท้ายประกาศนี้

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนที่ 20 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖1 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

ตารางก�าหนดหน่วยงานรับผิดชอบด�าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่างๆ

ลําดับที่สิทธิที่ผูส้ ูงอายุได้รบการคุ้มครอง การส่งเสริมหน่วยงานรบผิดชอบ
1การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่หน่วยงานท่ีให้บริการทางการแพทย์และ
2การศึกษาตามมาตรา ๑๑ (๒)หน่วยงานที่ให้บริการทางการศึกษา
3การศาสนาตามมาตรา ๑๑ (๒)- กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
4ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิต ตามมาตรา ๑๑ (๒)หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร่ี ทเป็นประโยชน์ต่อการดา� เนินชีวิตในสังกัด
5การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสมหน่วยงานท่ีให้บริการเกี่ยวกับการ ประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพ ในสังกัด
6การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่าย หรือชุมชนตามมาตรา ๑๑ (๔)หน่วยงานท่ีให้บริการด้านการพัฒนา ตนเอง และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะ เครือข่ายหรือชุมชน ในสังกัด
ลําดับที่สิทธิท่ีผูส้ ูงอายุไดร้ ับการคุมครอง การส่งเสริมหน่วยงานรบผิดชอบ
- กระทรวงวัฒนธรรม
7การอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย ในอาคาร หรือสถานท่ี ตามมาตรา ๑๑ (๕)- กรมโยธาธิการและผงเมือง กระทรวงมหาดไทย
8การอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย ใน ยานพาหนะตามมาตรา ๑๑ (๕)หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการอํานวย ความสะดวก และความปลอดภัยใน ยานพาหนะ ในสังกัด
9การอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย ใน การบริการสาธารณะอื่นตามมาตรา ๑๑ (๕)หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการอํานวย ความ สะดวกและความปลอดภัยในการ ใ ห้ บริ การ สาธารณะอื่น ในสัง กั ด กระทรวงการพัฒนาสังคม และความ
10การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตาม ความเหมาะสม มาตรา ๑๑ (๖)หน่วยงานท่ีรับผิดชอบการให้บริการ ยานพาหนะ ในสังกัด
11การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐตามมาตราหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่ นและ
12การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการ ถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาผลประโยชน์ โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้งตาม มาตรา ๑๑ (8)หน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการช่วยเหลือ ผู้สูงอายุ ซึ่งได้รับอันตรายจากการถูก ทารุณกรรมหรือ แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้งในสังกัด
ลําดับที่สิทธิท่ีผูส้ ูงอายุได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริมหน่วยงานรบผิดชอบ
13การให้คําแนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอื่นท่ี เก่ียวข้องในทางคดีตามมาตรา ๑๑ (9)หน่วยงานท่ีมีหนาท่ีใหค้ ําแนะนํา ปรึกษา หรือดําเนินการอ่ืนท่ีเก่ียวข้องในทางคดี ในสังกัด
14การให้คําแนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอื่นท่ี เก่ียวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัวตาม มาตรา ๑๑ (9)หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีใหค้ ําแนะนํา ปรึกษา หรือดําเนินการอ่ืนที่เกี่ยวข้องในการ แ ก้ ไข ปั ญหา ครอบค รั ว ในสั ง กั ด กระทรวงการพัฒนาสังคม และความ
15การจัดท่ีพักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มให้ ตามความจําเป็นอย่างท่วถึงตามมาตรา ๑๑ (๑๐)หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีด้านการสงเคราะห์ ท่ีพักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่ม
16การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึง และเป็นธรรมตามมาตรา ๑๑ (๑๑)- หน่วยงานท่ีมีหน้าที่เกี่ยวกับการ สงเคราะห์ เบี้ยยังชีพในสังกัดองค์กร
17การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณีตาม มาตรา ๑๑ (๑๒)หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ด้านการสงเคราะห์ ในการจัดการศพตามประเพณีในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
18การจัดบริการสถานที่ท่องเที่ยว การจัดกิจกรรม กีฬาและนันทนาการตามท่ีคณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติประกาศกําหนดตามมาตราหน่วยงานท่ีจัดบริการสถานท่ีท่องเท่ียว การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ ในสงกัด
19การจัดบริการเพื่ออํานวยความสะดวกด้าน พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หอจดหมายเหตุ แห่งชาติ และการจัดกิจกรรมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ตามที่คณะกรรมการผู้สูงอายุหน่วยงานท่ีจัดบริการด้านพิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หอจดหมายเหตุแห่งชาติ และ การจัดกิจกรรม ด้านศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม ในสังกัดกระทรวง
20การประชาสัมพันธ์ให้ทราบเก่ียวกับสิทธิที่ได้รับกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนา สงคมและความมั่นคงของมนุษย์
ลําดับที่สิทธิท่ีผสู้ ูงอายุไดร้ บการคุ้มครอง การส่งเสริมหน่วยงานรบผิดชอบ
21การได้รับการดูแลระยะยาวสําหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีภาวะพึ่งพิง ตามมาตรา ๑๑ (๑๓)- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์
มาตรา ๑๑(๑) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข ที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วเป็นกรณีพิเศษ

หนา ๑

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

เร่ือง การบริการทางการแพทยและการสาธารณสุขที่จดไว ดยใหความสะดวกและรวดเร็วแก

ผู ูงอายุเปนกรณีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศยอํานาจตามความในมาตรา ๓ และมาตรา ๑๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และขอ ๒ แหงประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดใหหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการ ตามพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุขจึงออกประกาศ ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ใหหนวยบริการในระดับโรงพยาบาลของรัฐใหบริการทางการแพทยและการสาธารณสุข

แกผ

ูงอายุ ดังตอไปนี้

(๑) จัดใหมีชองทางเฉพาะสําหรับผูสูงอายุแยกจากผูร ับบริการทั่วไปในแผนกผูป วยนอก

(๒) กําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการใหบริการแกผูสูงอายุ โดยปดประกาศไวใหชัดเจน

และให

ีการประชาสัมพนธในระหวางใหบริการดวย

ขอ ๒ ประกาศน้ีใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ สุชัย เจริญรตนกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

หน ๑๖

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔

ประกาศกระทรวงกลาโหม

เรื่อง การบริการทางการแพทยแ

ละการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็ว แก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ

พ.ศ. ๒๕๕๔

อาศยอํานาจตามความในมาตรา ๓ และมาตรา ๑๑ (๑) แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และข้อ ๒ แห่งประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าท่ีรับผิดชอบ ดําเนินการเก่ียวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติ

ผ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๕ ธ วาคม ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้หน่วยบริการในระดบั โรงพยาบาลของกระทรวงกลาโหม ให้บริการทางการแพทย์ และการสาธารณสุขแก่ผสู้ ูงอายุ ยกเว้นกรณีที่มีสถานการณ์ไม่ปกติ การรบ หรือสงคราม ดังต่อไปนี้

(๑) จัดให้มีช่องทางเฉพาะสําหรับผู้สูงอายุแยกจากผู้รับบริการท่ัวไปในแผนกผู้ป่วยนอก

(๒) กําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ โดยปิดประกาศไว้ให้ชัดเจน

และให้มีการประชาสมพ

ธ์ในระหว่างให

ริการด้วย

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บงคบั เมื่อพ้นกําหนดสามสิบวนั นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

แนวทางการก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามมาตรา ๑๑ (๑) (๘) (๙)

ของส านักงานต ารวจแห่งชาติ

๑. จัดช่องทางพิเศษให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการจากนักสังคมเคราะห์ได้สะดวกและรวดเร็วเป็นพิเศษ เพื่อผู้สูงอายุไม่ต้องรอนาน โดยจัดคิวให้บริการแก่ผู้สูงอายุเป็นล˚าดับต้น และกรณีเป็นผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเอง ไม่ค่อยได้ อาทิ นั่งรถเข็น จะได้รับบริการทันที

๒. แนะน˚าเรื่องเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุทุกคนที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพฯ รวมทั้งช่วยประสาน ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับเบี้ยยังชีพฯ ตามสิทธิ

๓. ให้บริการปรึกษาและบริการช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาอารมณ์จิตใจ ปัญหาเศรษฐกิจ ฯลฯ

๔. ให้การคุ้มครองสวัสดิภาพและช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุที่ถูกกระท˚าด้วยความรุนแรงในครอบครัว เช่น ประสานงานช่วยเหลือด้านกฎหมายส่งต่อเข้าสถานสงเคราะห์ติดตามญาติ ฯลฯ

๕. ข้าราชการต˚ารวจที่อยู่ในราชการและเกษียณอายุราชการแล้ว ได้มีห้องตรวจที่ให้บริการด้วยความ สะดวกรวดเร็ว ครบวงจร คือคลินิคต˚ารวจ

๖. ข้าราชการต˚ารวจซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง ได้มีห้องตรวจที่ให้บริการด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ครบวงจร คือห้องรับรองผู้บังคับบัญชาระดับสูง

๗. กรณีผู้ป่วยเร่งด่วนจัดพบแพทย์โดยไม่รอเวชระเบียน

๘. ได้มีการจัดช่องทางพิเศษในกรณีสูงอายุนั่งรถเข็นหรือเปลนอน ให้พบแพทย์โดยเร็วไม่ต้องรอคิวตรวจ

๙. จัดที่พักผ่อนระหว่างรอพบแพทย์

ทั้งนี้ โรงพยาบาลต˚ารวจ ส˚านักงานต˚ารวจแห่งชาติ ได้วางแผนด˚าเนินการบริการทางการแพทย์ แก่ผู้สูงอายุ ดังนี้

๑. จัดช่องทางบริการให้ความสะดวก รวดเร็วและครบวงจร (One StopService)

๒. จัดเจ้าหน้าที่ประจ˚าเพื่อให้การช่วยเหลือและอ˚านวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ

๓. จัดให้มีที่จอดรถแก่ผู้สูงอายุโดยเฉพาะ

๔. จัดให้มีสถานที่พักผ่อนระหว่างรอรับบริการทางการแพทย์

๕. จัดท˚าป้ายประกาศและประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการทราบ

มาตรา ๑๑ (๒)

**การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิต
**

หน ๙

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔

ประกาศกระทรวงการพัฒนาส คมและความมั่นคงของมนุษย

เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการส่งเสริม และสนับสนุน ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตของผู้สูงอายุ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๒) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบข้อ ๒ ของประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการ สนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ คงของมนุษย์จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการส่งเสริมและสน การดําเนินชีวิตของผู้สูงอายุ”

สนุนข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อ

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บงคับตั้งแต่วันถ

จากว

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ ๓ ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่งเสริม

และสนับสนุนให ู้สงู อายุไดร้ ับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตสาหรํ ับผู้สงู อายุ ดงน

(๑) ให

ริการขอมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตสําหร

ผู้สูงอาย

(๒) จัดมุมบริการข้อมูลข่าวสาร มุมความรู้สําหร ผู้สงู อาย

(๓) จัดให้มีช่องทางในการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทางสื่อหลากหลายรูปแบบ เพ่ือใหเข้าถึงผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไปอย่างท่วถึง

(๔) ผลิตสื่อที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ

ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ อิสสระ สมชัย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพ นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย

มาตรา ๑๑ (๓) การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม

มาตรา ๑๑ (๔) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม

**ทางสงั คมการรวมกลุ่มในลกั ษณะเครอื ข่ายหรอื ชมุ ชน
**

หนา ๓๖

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

ประกาศกระทรวงการพฒนาสงคมและความมั่นคงของมนุษย

เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการคุมครอง การสงเสริม และการสนบสนุนการพัฒนาตนเองและการมีสวนรวม ในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุมในลักษณะเครือขายหรือชุมชน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๔) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แหงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบขอ ๑๑ (๑) ของประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันท่ี

๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เร่ือง การกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการคุมครอง การสงเสริมและการสนับสนุนการ พัฒนาตนเองและการมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุมในลักษณะเครือขายหรือชุมชน”

ขอ ๒ ใหสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ

และผู ูงอายุรวมกบหนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของ กําหนดแนวทางการดําเนินงานดานการพัฒนาตนเอง และ

การพัฒนาสังคมผูสูงอายุในชุมชนใหสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง เชน การบริหารจัดการ การประสานงาน การจัดกิจกรรม และการดําเนินงานดานการเงิน ท้ังนี้ ใหคํานึงถึงการมีสวนรวมของ

ผ ูงอายุและความพรอมของชุมชน รวมทง้ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ขอ ๓ ใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด สงเสริม สนับสนุน

ดานความรู ความเขาใจ การใหคําปรึกษา ตลอดจนทรัพยากรดานบุคลากรและวัสดุอุปกรณ เพื่อใหการ ดําเนินงานดานการพัฒนาตนเอง และการพัฒนาสังคมผูสูงอายุในชุมชนเขมแข็ง และสามารถ

ดําเนินการได วยตนเอง

ใหสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอาย ประสานกับกรุงเทพมหานคร เพ่ือดําเนินการตามวรรคหนึ่ง

ข ๔ ใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด และหนวยงานในสังกัด

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ประสานงาน สงเสริม และสนับสนุน การเชื่อมโยงเครือขายงานดานการพัฒนาตนเอง และการพัฒนาสังคมผูสูงอายุในชุมชนระดับตําบล อําเภอ และจังหวัด

หนา ๓๗

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

ให ํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอาย

และหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ประสานกับ กรุงเทพมหานคร เพื่อดําเนินการตามวรรคหนึ่ง

ขอ ๕ ใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ประสานองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นในการสรรหาและจัดทําทะเบียนผูสูงอายุ ซึ่งเปนผูที่มีความร ภูมิปญญาทองถ่ิน รวมทั้งสงเสริมใหเกิดการถายทอดภูมิปญญาแกสังคมตอไป

ความสามารถเปน

ให ํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอาย

ประสานกบกรุงเทพมหานคร เพื่อดําเนินการตามวรรคหนึ่ง

ขอ ๖ ใหสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ จัดทําทะเบียนองคกรผูสูงอายุและองคกรท่ีทํางานดานผูสูงอายุ เพื่อประโยชนในการ ประสานงานและสรางเครือขายในทุกระดับ

ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ ธนวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

สรอรรถ กลิ่นประทุม

รฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

มาตรา ๑๑ (๕) การอ�านวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรง แก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการ บริการสาธารณะอื่น

มาตรา ๑๑ (๖) การช่วยเหลือด้าน

ค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม

หนา ๓๔

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

ประกาศกระทรวงการพฒนาสงคมและความมั่นคงของมนุษย

เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการคุมครอง การสงเสริม และการสนบสนุนการอํานวยความสะดวกและความปลอดภยโดยตรง

แกผูสูงอายุในการบริการสาธารณะอื่น

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๕) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แหงพระราชบญญตั ผู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบขอ ๑๑ (๒) ของประกาศสํานกนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดหนวยงาน

รับผิดชอบในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้

ข ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนการอํานวย

ความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแกผ ูงอายุในการบริการสาธารณะอ่ืน”

ขอ ๒ การบริการสาธารณะอ่ืน หมายความวา การดําเนินการใด ๆ ของหนวยงานในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อใหผูสูงอายุไดรับการคุมครอง การสงเสริม และการสนบสนุน โดยไดรับความสะดวกและความปลอดภยในการดําเนินการนั้น ๆ

ข ๓ ให ํานกงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจงหวั ัด ดําเนินการ ดังน

(๑) จดสถานท่ี โตะ เกาอี้ ใหบริการสําหรับผูสูงอายุไวเปนสัดสวนในสํานกั งาน

(๒) ใหบริการแกผูสูงอายุเปนลําดบตนหรือเปนกรณีพิเศษ โดยเนนบริการแบบเบ็ดเสร็จ

(๓) จัดส่ิงอํานวยความสะดวกใหแกผูสูงอายุ เชน รถเข็นน่งั ไมเทา ราว อุปกรณในหองนํา้

(๔) จัดทําแผนผงั ชองทางการใหบริการท่ีเหมาะกบผูสูงอายุ

(๕) เปนศูนยกลางในการประสานขอความรวมมือ รวมทั้งรณรงคและประชาสัมพันธให หนวยงานของรัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ินและประชาชนในจังหวัดใหตระหนักถึง

ความสําคัญเก่ียวกบการอํานวยความสะดวกและความปลอดภ ในการใหบริการแกผูสูงอาย

(๖) จัดทําโครงการหรือกิจกรรมเชิงรุกเพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการ

ใหบริการแกผู

ขอ

ส ูงอายุที่อยูในพืนท่ี เชน การออกหนวยเคล่ือนท่ี

๔ ใหกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และหนวยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและ

สวัสดิการ ดําเนินการ ดังนี้

(๑) จัดสถานที่ โตะ เกาอ้ี ใหบริการสําหรับผูสูงอายุไวเปนสัดสวนในสํานักงาน

หนา ๓๕

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘

(๒) ใหบริการแกผู ูงอายุเปนล ําดบตนหรือเปนกร ณีพเศษิ โดยเนนบริการแบบเบ็ดเสร็จ

(๓) จัดสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกผูสูงอายุ เชน รถเข็นน

(๔) จัดทําแผนผงั ชองทางการใหบริการที่เหมาะกับผูสูงอายุ

ไมเทา ราว อุปกรณในหองน้ํา

(๕) เปนศูนยกลางในการประสานขอความรวมมือ รวมทั้งรณรงคและประชาสัมพันธให หนวยงานของรัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ินและประชาชนในจังหวัดใหตระหนักถึง

ความสําคัญเกี่ยวกบการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการใหบริการแกผ ูงอาย

(๖) จดทําโครงการหรือกิจกรรมเชิงรุกเพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการ ใหบริการแกผสู ูงอายุที่อยูในพืนที่ เชน การออกหนวยเคลื่อนที่

(๗) จัดทํามาตรฐานในการจดบริการสําหรบผูส ูงอายุในสถานสงเคราะห

(๘) จัดสถานที่ของหนวยงานใหผูสูงอายุจัดกิจกรรม หรือประชุม หรือเปนศูนยกลางในการ

ดําเนินงานของผ ูงอาย

ขอ ๕ ใหสํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว สนับสนุนศูนยพัฒนาครอบครัว ในชุมชน (ศพค.) ซ่ึงเปนองคกรประชาชนภายใตการสนับสนุนและกํากับขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น เพ่ือเปนศูนยเฝาระวังปญหาของผสู ูงอายุและครอบครัว

ขอ ๖ ใหการเคหะแหงชาติ จดสถานที่และใหม ีอุปกรณ พื้นที่ของชุมชนการเคหะแหงชาติ

ําหรับบริการผูสูงอายุที่อยูอาศัยใน

ขอ ๗ ให ํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และ

ผูส ูงอายุ เปนศูนยกลางในการประสานขอความรวมมือ รวมทังรณรงคและประชาสัมพนธใหหนวยงาน ของรัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และประชาชนตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับการ อํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการใหบริการแกผูสูงอายุ

ขอ ๘ ใหอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย อํานวยความสะดวกแก ผูสูงอายุในหมูบาน โดยเฉพาะผูสูงอายุที่ยากจนและประสบปญหาในการเดินทางมาขอรับบริการ โดยทํา หนาที่รับเรื่อง สอบขอเท็จจริงเบ้ืองตน และประสานงานกับสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยจังหวัด และหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งประสานการจัดหาพาหนะเดินทางนําผูสูงอายุไปรับบริการ หรือรวมกิจกรรมตาง ๆ

ประกาศ ณ วันท

๒๓ ธน

วาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

สรอรรถ กลิ่นประทุม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่

คงของมนุษย

หนา ๕

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

ระเบียบกรมกิจการผู้สูงอายุ

ว่าดว

ยหลักเกณฑแ

ละวิธีการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ

และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรส าหรบผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๒

โดยที่กฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุก าหนดให้กรมกิจการผู้สูงอายุมีอ านาจหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพ พัฒนามาตรการ กลไก มาตรฐาน การจัดสวัสดิการ คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และนวัตกรรมองค์ความรู้ รวมทั้งประสานความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ดังน้ัน เพื่อเป็นการคุ้มครองส่งเสริม ให้ผู้สูงอายุสามารถด ารงชีวิตในที่อยู่อาศัยได้สะดวก เหมาะสม ปลอดภัย และสุขอนามัย และเพ่ืออ านวย ความสะดวก และความปลอดภัยในการใช้สถานที่สาธารณะ หรือสถานที่จัดกิจกรรมของผู้สูงอายุ

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัตระเบียบบริหารราชการแผ่นดน พ.ศ. 2534

ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงได้ก าหนด ระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมกิจการผู้สูงอายุ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ ปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรส าหรับผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๒”

ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 ในระเบียบนี้

“ผู้สูงอายุ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

“การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย” หมายความว่า การเพิ่มเติม ปรับปรุง ซ่อมแซม เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงที่อยู่อาศัยบางส่วนหรือทั้งหมด โดยอาศัยการออกแบบ การซ่อมแซม

การก่อสร้าง การใช้เทคโนโลยี หรือวิธีการอื่นใด เพื่อให้ผู้สูงอายุด ารงชีวต เหมาะสม ปลอดภัย และสุขอนามัย

ในที่อยู่อาศัยนั้นได้โดยสะดวก

“การเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตร” หมายความว่า การเพิ่มเติม ปรับปรุง ซ่อมแซม เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงสถานที่สาธารณะ หรือสถานที่จัดกิจกรรมของผู้สูงอายุทั้งชุมชนในเขตเมืองและชนบท โดยอาศัยการออกแบบ การซ่อมแซม การก่อสร้าง การใช้เทคโนโลยี หรือวิธีการอื่นใด ซึ่งด าเนินการ ตามกฎกระทรวง ก าหนดสิ่งอ านวยความสะดวกในอาคารส าหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เพื่ออ านวยความสะดวก และความปลอดภัยในการใช้สถานที่สาธารณะ หรือสถานที่จัดกิจกรรมของผู้สูงอายุ

หนา ๖

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

“หน่วยงานบริการในพ้ืนท่ี” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนต าบล เทศบาลต าบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร เมืองพัทยา และให้หมายความรวมถึงองค์กรภาครัฐในเขตพื้นที่จังหวัด ตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัด ประกาศก าหนด

“ส านักงานเขต” หมายความว่า ส านักงานเขตทุกเขตในสังกัดกรุงเทพมหานคร

“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ

ข้อ ๔ ให้อธิบดี เป็นผู้รักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอ านาจก าหนดแนวทางปฏิบัติ แบบเอกสาร และเป็นผู้มีอ านาจวินิจฉัยชี้ขาดในกรณีที่มีปัญหาหรือข้อขัดแย้งในการปฏิบัติตามระเบียบนี้

หมวด ๑ การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ

ข้อ ๕ ผู้สูงอายุที่จะมีสิทธิตามหมวดนี้ต้องเข้าหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) มีฐานะยากจน หรือรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ

(๒) ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ หรือได้รับแต่ไม่เพียงพอ

(๓) ที่อยู่อาศัย ไม่มั่นคง ไม่เหมาะสม หรือไม่ปลอดภัยกับการด ารงชีวิตของผู้สูงอายุ กรณี ที่อยู่อาศัยและ/หรือที่ดินที่เป็นที่ตั้งของที่อยู่อาศัยไม่ได้เป็นของผู้สูงอายุหรือทายาท ต้องอาศัยอยู่จริง ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และได้รับความยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ให้ปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย

หมวด ๒ การเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกบผู้สูงอายุ

ข้อ 6 สถานที่ที่จะได้รับการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นสถานที่จัดกิจกรรมส าหรับผู้สูงอายุ หรือสถานที่สาธารณะที่ผู้สูงอายุเข้ามาใช้ประโยชน์ (๒) มีลักษณะไม่มั่นคง ไม่เหมาะสม หรือไม่ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ

(๓) ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐหรือได้รับแต่ไม่เพียงพอ

หมวด ๓

การยื่นค าขอ และการอนุมต

ข้อ 7 ผู้สูงอายุ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลใดที่ประสงค์ขอรับการปรับสภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยตามข้อ ๕ หรือผู้สูงอายุ บุคคลที่เกี่ยวข้อง เจ้าของสถานที่ หรือหน่วยงานของรัฐที่ประสงค์ จะขอรับการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรตามข้อ ๖ ให้ยื่นค าขอต่อหน่วยงาน ดังต่อไปนี้

หนา ๗

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

(๑) ในกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นค าขอต่อกรมกิจการผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม ผู้สูงอายุบ้านบางแค หรือส านักงานเขตตามภูมิล าเนา

(๒) ในจังหวัดอื่น ให้ยื่นค าขอต่อส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือหน่วยงานบริการในพื้นที่

ข้อ 8 เมื่อได้รับค าขอตามข้อ 7 แล้วให้เจ้าหน้าที่สอบข้อเท็จจริงและพิจารณาถึงความจ าเป็น และความเหมาะสม และรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งอาจขอให้ส่งเอกสารเพิ่มเตมเท่าที่จ าเป็นเพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาช่วยเหลือผู้สูงอายุ

ข้อ 9 ให้ผู้มีวิชาชีพด้านการก่อสร้างเป็นผู้ประมาณการค่าใช้จ่ายในการด าเนินการ ดังนี้ (๑) การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ ผู้มีอาชีพที่ต้องอาศัยความรู้

ความช านาญ หรือผู้มีวุฒิไม่ต่ ากว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือผู้ที่ผ่านการอบรมการปรับ สภาพแวดล้อมและสิ่งอ านวยความสะดวกของผู้สูงอายุ

(๒) การเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ได้แก่ ผู้มีอาชีพที่ต้องอาศัยความรู้ความช านาญ โดยมีวุฒิไม่ต่ ากว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

กรณีที่ไม่มีผู้มีวิชาชีพด้านการก่อสร้างในพื้นที่สามารถใช้ผู้มีวิชาชีพด้านการก่อสร้างในพื้นที่อื่นได้ ข้อ 10 การพิจารณาอนุมัติในกรุงเทพมหานคร ให้อธิบดีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็น ผู้พิจารณาอนุมัติ ในท้องที่จังหวัดอื่น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ อัตราวงเงินและรายการค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลัง

โดยกรมบัญชีกลางให้ความเห็นชอบ

ข้อ 1๑ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือหน่วยงานบริการในพ้ืนที่ เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินการปรับ สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ผู้สูงอายุและการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุแล้วแต่กรณี

(๑) ในกรุงเทพมหานคร ให้ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแค ด าเนินการ เบิกจ่ายงบประมาณตามระเบียบทางราชการ

(๒) ในจังหวัดอื่น ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด หรือศูนย์พัฒนาการ จัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ด าเนินการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามระเบียบทางราชการ

กรณีหน่วยบริการในพื้นที่ด าเนินการ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด หรือศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ สนับสนุนงบประมาณโดยจ่ายเงินตามระเบียบ ทางราชการ

หนา ๘

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

ข้อ ๑๒ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือหน่วยบริการในพื้นที่ ด าเนินการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ผู้สูงอายุ และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ ให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณนั้น

หมวด ๔ การรายงานผล

ข้อ 1๓ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ รายงานผลการด าเนินงานการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบให้กรมกิจการผู้สูงอายุทราบ ภายใน สามสิบวันนับจากวันที่ด าเนินการแล้วเสร็จ ตามแบบรายงานผลการด าเนินงาน แบบประเมินผล ความพึงพอใจของผู้สูงอายุ พร้อมหลักฐานการจ่ายเงิน รวมทั้งภาพถ่ายก่อนด าเนินการ และ หลังด าเนินการแล้วเสร็จ

ข้อ 1๔ ให้หน่วยงานบริการในพื้นที่ รายงานผลการด าเนินงานการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่ อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุให้หน่วยงานที่สนับสนุน งบประมาณ ภายในสามสิบวันนับจากวันที่ด าเนินการแล้วเสร็จ ตามแบบรายงานผลการด าเนินงาน แบบประเมินผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ พร้อมหลักฐานการจ่ายเงิน รวมทั้งภาพถ่ายก่อนด าเนินการ และหลังด าเนินการแล้วเสร็จ

ข้อ 1๕ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หน่วยงานบริการในพื้นที่ ด าเนินการส ารวจความต้องการในการปรับ สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส าหรับผู้สูงอายุ และการเสริมสร้างชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ รับผิดชอบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตามแบบส ารวจ และรายงานให้กรมกิจการผู้สูงอายุทราบ ภายใน วันที่ 30 กันยายนของทุกปี โดยใช้กลไกของคณะท างานการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการพัฒนา ที่อยู่อาศัย ระดับจังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร

ข้อ ๑๖ วิธีปฏิบัติอื่นใดซึ่งมิได้ก าหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ว่าด้วยการนั้นโดยอนุโลม

ประกาศ ณ วนที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕62 ไพรวรรณ พลวัน

อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ

หนา ๔

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

กฎกระทรวง

กําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคาร สําหรบผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ (๓) แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๘ (๑) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ อันเปน พระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ กฎกระทรวงนีใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวนประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ขอ ๒ ในกฎกระทรวงนี้

“ส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรบผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา” หมายความวา สวนของ อาคารที่สรางขึ้นและอุปกรณอันเปนสวนประกอบของอาคารที่ติดหรือตั้งอยูภายในและภายนอกอาคาร เพ่ืออํานวยความสะดวกในการใชอาคารสําหรบผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา

หนา ๕

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

“ลิฟต” หมายความวา อุปกรณท่ีใชสําหรับนําคนข้ึนลงระหวางพื้นของอาคารที่ตางระดับกัน แตไมใชบันไดเล่ือนหรือทางเลื่อน

“พื้นผิวตางสัมผัส” หมายความวา พื้นผิวท่ีมีผิวสัมผัสและสีซึ่งมีความแตกตางไปจากพื้นผิว และสีในบริเวณขางเคียงซ่ึงคนพิการทางการมองเห็นสามารถสมผัสได

“ความกวางสุทธิ” หมายความวา ความกวางท่ีวัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหน่ึงโดยปราศจาก สิ่งใด ๆ กีดขวาง

ขอ ๓ อาคารประเภทและลักษณะดังตอไปน้ี ตองจัดใหมีส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับ

ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงน บุคคลทั่วไป

ในบริเวณที่เปดใหบริการแก

(๑) โรงพยาบาล สถานพยาบาล ศูนยบริการสาธารณสุข สถานีอนามัย อาคารท่ีทําการ ของราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย สถานศึกษา หอสมุดและ พิพิธภัณฑสถานของรัฐ สถานีขนสงมวลชน เชน ทาอากาศยาน สถานีรถไฟ สถานีรถ ทาเทียบเรือ ท่ีมีพื้นที่สวนใดของอาคารที่เปดใหบริการแกบุคคลทั่วไปเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร

(๒) สํานักงาน โรงมหรสพ โรงแรม หอประชุม สนามกีฬา ศูนยการคา หางสรรพสินคา

ประเภทตาง ๆ ที่มีพ

ที่สวนใดของอาคารที่เปดใหบริการแกบุคคลทั่วไปเกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร

หมวด ๑ ปายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวก

ขอ ๔ อาคารตามขอ ๓ ตองจัดใหมีปายแสดงส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชรา ตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

(๑) สัญลักษณรูปผ ิการ

คนชรา

(๒) เคร่ืองหมายแสดงทางไปสูส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และ

(๓) สัญลักษณ หรือตัวอักษรแสดงประเภทของสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือ

ทุพพลภาพ และคนชรา

หนา ๖

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

ขอ ๕ สัญลักษณรูปผูพิการ เครื่องหมายแสดงทางไปสูสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับ ผ ิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา และสัญลกษณหรือตัวอักษรแสดงประเภทของสิ่งอํานวยความสะดวก

สําหรบผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามขอ ๔ ใหเปนสีขาวโดยพ้ืนปายเปนสีน้ําเงิน หรือเปน สีน้ําเงินโดยพืนปายเปนสีขาว

ข ๖ ปายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตองมี

ความชัดเจน มองเห็นไดงาย ติดอยูในตําแหนงที่ไมทําใหสับสน และตองจัดใหมีแสงสองสวาง เปนพิเศษท้งกลางวนและกลางคืน

หมวด ๒ ทางลาดและลิฟต

ขอ ๗ อาคารตามขอ ๓ หากระดับพื้นภายในอาคาร หรือระดับพื้นภายในอาคาร กับภายนอกอาคาร หรือระดับพื้นทางเดินภายนอกอาคารมีความตางระดับกันเกิน ๒๐ มิลลิเมตร ใหมีทางลาดหรือลิฟตระหวางพ้ืนที่ตางระดับกัน แตถามีความตางระดับกันไมเกิน ๒๐ มิลลิเมตร ตองปาดมุมพืนสวนท่ีตางระดบกันไมเกิน ๔๕ องศา

ขอ ๘ ทางลาดใหมีลักษณะ ดงั ตอไปนี้

(๑) พ ผิวทางลาดตองเปนวัสดทไม่ีุ ลื่น

(๒) พนื ผิวของจุดตอเนื่องระหวางพ้ืนกับทางลาดตองเรียบไมสะดุด

(๓) ความกวางสุทธิไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดมีความยาวของทุกชวง

รวมกนต้งแต ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ข ไป ตอ งมีความกวางสุทธิไมนอยกว า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๔) มีพื้นที่หนาทางลาดเปนท่ีวางยาวไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๕) ทางลาดตองมีความลาดชันไมเกิน ๑:๑๒ และมีความยาวชวงละไมเกิน ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดยาวเกิน ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ตองจัดใหมีชานพักยาวไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร คั่นระหวางแตละชวงของทางลาด

(๖) ทางลาดดานที่ไมมีผนังกั้นใหยกขอบสูงจากพื้นผิวของทางลาดไมนอยกวา ๕๐ มิลลิเมตร และมีราวกันตก

หนา ๗

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๗) ทางลาดท่ีมีความยาวตั้งแต ๒,๕๐๐ มิลลิเมตร ขึ้นไป ตองมีราวจับทั้งสองดานโดยม ลักษณะ ดังตอไปน้ี

(ก) ทําดวยวัสดุเรียบ มีความมั่นคงแข็งแรง ไมเปนอันตรายในการจบั และไมลื่น

(ข) มีลักษณะกลม โดยมีเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา ๓๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน

๔๐ มิลลิเมตร

(ค) สูงจากพืนไมนอยกวา ๘๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร

(ง) ราวจับดานที่อยูติดผนังใหมีระยะหางจากผนังไมนอยกวา ๕๐ มิลลิเมตร มีความสูง

จากจุดยึดไมนอยกวา ๑๒๐ มิลลิเมตร และผนงบริเวณราวจับตองเปนผนังเรียบ

(จ) ราวจับตองยาวตอเนื่อง และสวนที่ยึดติดกับผนังจะตอ งไมกีดขวางหรือเปนอุปสรรค ตอการใชของคนพิการทางการมองเห็น

(ฉ) ปลายของราวจับใหยื่นเลยจากจุดเร่ิมตนและจุดสิ้นสุดของทางลาดไมนอยกวา ๓๐๐

มิลลิเมตร

(๘) มีปายแสดงทิศทาง ตําแหนง หรือหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได ตั้งอยูบริเวณทางขึ้นและทางลงของทางลาดที่เช่ือมระหวางชั้น ของอาคาร

(๙) ใหมีสัญลักษณรูปผูพิการติดไวในบริเวณทางลาดท่ีจัดไวใหแกผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา

ข ๙ อาคารตามขอ ๓ ที่มีจํานวนชั้นตั้งแตสองช้ันขึ้นไปตองจัดใหมีลิฟตหรือทางลาด

ท่ีผ ิการหรือทพพลภาพุ และคนชราใชไดระหวางชั้นของอาคาร

ลิฟต ี่ผูพการิ หรือทุพพลภาพ และคนชราใชไดตองสามารถขึ้นลงไดทุกชั้น มีระบบควบคุมลิฟต

ท่ีผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถควบคุมไดเอง ใชงานไดอยางปลอดภัย และจัดไวในบริเวณ ท่ีผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถใชไดสะดวก

ให ีสัญลักษณรูปผูพิการติดไว ี่ชองประตูดา นนอกของลิฟตท่ีจัดไวใหผูพิการหรือทพพลภาพุ

และคนชราใชได

ขอ ๑๐ ลิฟตที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใชไดที่มีลักษณะเปนหองลิฟตตองมี ลักษณะ ดังตอไปนี้

หนา ๘

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๑) ขนาดของหองลิฟตตองมีความกวางไมนอยกวา ๑,๑๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา

๑,๔๐๐ มิลลิเมตร

(๒) ชองประตูลิฟตตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร และตองมีระบบแสง

เพื่อปองกันไมให

ระตูลิฟตหนีบผ

ดยสาร

(๓) มีพ้ืนผิวตางสัมผัสบนพื้นบริเวณหนาประตูลิฟตกวาง ๓๐๐ มิลลิเมตร และยาว ๙๐๐ มิลลิเมตร ซ่ึงอยูหางจากประตูลิฟตไมนอยกวา ๓๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๖๐๐ มิลลิเมตร

(๔) ปุมกดเรียกลิฟต ปุมบังคับลิฟต และปุมสัญญาณแจงเหตุฉุกเฉินตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้

(ก) ปุมลางสุดอยูสูงจากพื้นไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร ปุมบนสุดอยูสูงจากพื้น ไมเกินกวา ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร และหางจากมุมภายในหองลิฟตไมนอยกวา ๔๐๐ มิลลิเมตร ในกรณีที่ หองลิฟตม ีขนาดกวางและยาวนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(ข) มีขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา ๒๐ มิลลิเมตร มีอักษรเบรลลกํากับไวทุกปุม เมื่อกดปุมจะตองมีเสียงดังและมีแสง

(ค) ไมมีสิ่งกีดขวางบริเวณที่กดปุมลิฟต

(๕) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต โดยราวมีลักษณะตามที่กําหนดในขอ ๘ (๗) (ก) (ข) (ค)

และ (ง)

(๖) มีตัวเลขและเสียงบอกตําแหนงชนั ตาง ๆ เมื่อลิฟตหยุด และขึ้นหรือลง

(๗) มีปายแสดงหมายเลขชั้นและแสดงทิศทางบริเวณโถงหนาประตูลิฟตและติดอย

ในตําแหนงท่ีเห็นไดชัดเจน

(๘) ในกรณีที่ลิฟตขัดของใหมีท้ังเสียงและแสงไฟเตือนภัยเปนไฟกะพริบสีแดง เพื่อให คนพิการทางการมองเห็นและคนพิการทางการไดยินทราบ และใหมีไฟกะพริบสีเขียวเปนสัญญาณ ใหคนพิการทางการไดยินไดทราบวาผูที่อยูขางนอกรับทราบแลววาลิฟตขัดของและกําลัง ใหความชวยเหลืออยู

(๙) มีโทรศพทแจงเหตุฉุกเฉินภายในลิฟตซ่ึงสามารถติดตอกบภายนอกได โดยตองอยูสูงจาก

พ ไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร

หนา ๙

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๑๐) มีระบบการทํางานท่ีทําใหลิฟตเลื่อนมาอยูตรงท่ีจอดช้ันระดับพื้นดินและประตูลิฟต ตอ งเปดโดยอัตโนมตั ิเมื่อไฟฟาดับ

หมวด ๓ บันได

ขอ ๑๑ อาคารตามขอ ๓ ตองจัดใหมีบันไดท่ีผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใชได อยางนอยชันละ ๑ แหง โดยตอ งมีลักษณะ ดังตอไปนี้

(๑) มีความกวางสุทธิไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๒) มีชานพักทุกระยะในแนวด่ิงไมเกิน ๒,๐๐๐ มิลลิเมตร

(๓) มีราวบนไดทง้ สองขาง โดยใหราวมีลักษณะตามท่ีกําหนดในขอ ๘ (๗)

(๔) ลูกตั้งสูงไมเกิน ๑๕๐ มิลลิเมตร ลูกนอนเมื่อหักสวนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแลว เหลือความกวางไมนอยกวา ๒๘๐ มิลลิเมตร และมีขนาดสม่ําเสมอตลอดชวงบันได ในกรณีที่ ขันบนไดเหลื่อมกนหรือมีจมูกบันไดใหม ีระยะเหลื่อมกนไดไมเกิน ๒๐ มิลลิเมตร

(๕) พื้นผิวของบนไดตองใชว ัสดุที่ไมลื่น

(๖) ลูกตั้งบันไดหามเปดเปนชองโลง

(๗) มีปายแสดงทิศทาง ตําแหนง หรือหมายเลขช้ันของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได ต้ังอยูบริเวณทางขึ้นและทางลงของบันไดท่ีเชื่อมระหวางชั้น ของอาคาร

หมวด ๔ ที่จอดรถ

ขอ ๑๒ อาคารตามขอ ๓ ตองจัดใหมีที่จอดรถสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา

อยางนอยตามอ ราสวน ดงนั

หนา ๑๐

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๑) ถาจํานวนที่จอดรถตั้งแต ๑๐ คัน แตไมเกิน ๕๐ คัน ใหมีที่จอดรถสําหรับผูพิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราอยางนอย ๑ คัน

(๒) ถาจํานวนที่จอดรถต้ังแต ๕๑ คัน แตไมเกิน ๑๐๐ คัน ใหมีที่จอดรถสําหรับผูพิการ หรือทุพพลภาพ และคนชราอยางนอย ๒ คนั

(๓) ถาจํานวนที่จอดรถตั้งแต ๑๐๑ คัน ข้ึนไป ใหมีท่ีจอดรถสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราอยางนอย ๒ คัน และเพิ่มขึ้นอีก ๑ คัน สําหรับทุก ๆ จํานวนรถ ๑๐๐ คันท่ีเพิ่มขึ้น เศษของ ๑๐๐ คนั ถาเกินกวา ๕๐ คัน ใหคิดเปน ๑๐๐ คัน

ขอ ๑๓ ที่จอดรถสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใหจัดไวใกลทางเขาออกอาคาร ใหมากที่สุด มีลักษณะไมขนานกับทางเดินรถ มีพื้นผิวเรียบ มีระดับเสมอกัน และมีสัญลักษณรูป ผูพิการนั่งเกาอี้ลออยูบนพื้นของท่ีจอดรถดานท่ีติดกับทางเดินรถ มีขนาดกวางไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร และมีปายขนาดกวางไมนอยกวา ๓๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา ๓๐๐ มิลลิเมตร ติดอยูสูงจากพื้นไมนอยกวา ๒,๐๐๐ มิลลิเมตร ในตําแหนง ที่เห็นไดชัดเจน

ขอ ๑๔ ที่จอดรถสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราตองเปนพื้นที่ส่ีเหลี่ยมผืนผา กวางไมนอยกวา ๒,๔๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร และจัดใหมีที่วาง ขางที่จอดรถกวางไมนอยกวา ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร ตลอดความยาวของท่ีจอดรถ โดยที่วางดังกลาวตองมี ลกษณะพื้นผิวเรียบและมีระดับเสมอกับที่จอดรถ

หมวด ๕

ทางเขาอาคาร ทางเดินระหวางอาคาร และทางเชื่อมระหวางอาคาร

ขอ ๑๕ อาคารตามขอ ๓ ตองจัดใหมีทางเขาอาคารเพื่อใหผูพิการหรือทุพพลภาพ และ คนชราเขา ใชไดโดยมีลักษณะ ดังตอไปนี้

(๑) เปนพ้ืนผิวเรียบเสมอกัน ไมล่ืน ไมมีสิ่งกีดขวาง หรือสวนของอาคารยื่นล้ําออกมา เปนอุปสรรคหรืออาจทําใหเกิดอนตรายตอผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา

หนา ๑๑

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๒) อยูในระดับเดียวกับพื้นถนนภายนอกอาคารหรือพื้นลานจอดรถ ในกรณีที่อยูตางระดับ ตองมีทางลาดท่ีสามารถขึนลงไดสะดวก และทางลาดนี้ใหอยูใกลที่จอดรถ

ขอ ๑๖ ในกรณีที่มีอาคารตามขอ ๓ หลายอาคารอยูภายในบริเวณเดียวกันที่มีการใชอาคาร รวมกัน จะมีรั้วลอมหรือไมก็ตาม ตองจัดใหมีทางเดินระหวางอาคารนั้น และจากอาคารแตละอาคารนั้น ไปสูทางสาธารณะ ลานจอดรถหรืออาคารที่จอดรถ

ทางเดินตามวรรคหนึ่งตองมีลกษณะ ดงั ตอไปนี้

(๑) พื้นทางเดินตองเรียบ ไมล่ืน และมีความกวางสุทธิไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๒) หากมีทอระบายนํา้ หรือรางระบายนําบนพนื ตอ งมีฝาปดสนิท ถาฝาเปนแบบตะแกรงหรือ แบบรู ตองมีขนาดของชองตะแกรงหรือเสนผานศูนยกลางของรูกวางไมเกิน ๑๓ มิลลิเมตร แนวรองหรือแนวของรางจะตองขวางกับแนวทางเดิน

(๓) ในบริเวณที่เปนทางแยกหรือทางเลี้ยวให ีพนื ผิวตางสัมผัส

(๔) ในกรณีท่ีมีสิ่งกีดขวางท่ีจําเปนบนทางเดิน ตองจัดใหอยูในแนวเดียวกัน โดยไมกีดขวาง ทางเดิน และจัดใหมีพืนผิวตางสัมผัสหรือมีการกั้นเพื่อใหทราบกอนถึงสิ่งกีดขวาง และอยูหางสิ่งกีดขวาง ไมนอยกวา ๓๐๐ มิลลิเมตร

(๕) ปายหรือสิ่งอื่นใดท่ีแขวนอยูเหนือทางเดิน ตองมีความสูงจากพ้ืนทางเดินไมนอยกวา

๒,๐๐๐ มิลลิเมตร

(๖) ในกรณีท่ีพื้นทางเดินกับพื้นถนนมีระดับตางกนั ใหมีพื้นลาดที่มีความลาดชันไมเกิน ๑:๑๐ ขอ ๑๗ อาคารตามขอ ๓ ที่มีทางเช่ือมระหวางอาคาร ตองมีผนังหรือราวกันตกท้ังสองดาน โดยมีราวจับซึ่งมีลักษณะตามขอ ๘ (๗) (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) ที่ผนังหรือราวกันตกนั้น และมี

ทางเดินซึ่งมีลักษณะตามขอ ๑๖ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕)

หมวด ๖ ประตู

ขอ ๑๘ ประตูของอาคารตามขอ ๓ ต

(๑) เปดปดไดงาย

งมีลักษณะ ดังตอไปน

หนา ๑๒

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๒) หากมีธรณีประตู ความสูงของธรณีประตูตองไมเกินกวา ๒๐ มิลลิเมตร และใหขอบ ทั้งสองดานมีความลาดเอียงไมเกิน ๔๕ องศา เพื่อใหเกาอ้ีลอหรือผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา

ที่ใชอุปกรณ วยเดนสามาริ ถขามไดสะดวก

(๓) ชองประตูต งมีความกวางสุทธิไมนอยกว า ๙๐๐ มิลลิเมตร

(๔) ในกรณีที่ประตูเปนแบบบานเปดผลักเขาออก เมื่อเปดออกสูทางเดินหรือระเบียงตองมี พนื ท่ีวางขนาดกวางไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๕) ในกรณีที่ประตูเปนแบบบานเลื่อนหรือแบบบานเปดใหมีมือจับท่ีมีขนาดเทากับราวจับ ตามขอ ๘ (๗) (ข) ในแนวด่ิงทั้งดานในและดานนอกของประตูซ่ึงมีปลายดานบนสูงจากพื้นไมนอยกวา

๑,๐๐๐ มิลลิเมตร และปลายดานลางไมเกิน ๘๐๐ มิลลิเมตร ในกรณีท่ีเปนประตูบานเปดออกใหมีราวจับ ตามแนวนอนดานในประตู และในกรณีที่เปนประตูบานเปดเขาใหมีราวจับตามแนวนอนดานนอกประตู ราวจับดังกลาวใหสูงจากพ้ืนไมนอยกวา ๘๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร ยาวไปตาม ความกวางของประตู

(๖) ในกรณีที่ประตูเปนกระจกหรือลูกฟกเปนกระจก ใหติดเคร่ืองหมายหรือแถบสี ที่สังเกตเห็นไดชดั

(๗) อุปกรณเปดปดประตูตองเปนชนิดกานบิดหรือแกนผลัก อยูสูงจากพื้นไมนอยกวา

๑,๐๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร

ประตูตามวรรคหนึ่งตองไมติดตั้งอุปกรณชนิดที่บังคับใหบานประตูปดไดเองท่ีอาจทําให

ประตูหนีบหรือกระแทกผ ิการหรือทพพลภาพุ และคนชรา

ขอ ๑๙ ขอกาหํ นดตามขอ ๑๘ ไมใชบังคับกับประตูหนีไฟและประตูเปด ปดโดยใชระบบ

อัตโนมัติ

หมวด ๗ หองสวม

ขอ ๒๐ อาคารตามขอ ๓ ที่จัดใหมีหองสวมสําหรับบุคคลทั่วไป ตองจัดใหมีหองสวม สําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราเขาใชไดอยางนอย ๑ หองในหองสวมนั้นหรือจะจัดแยก

ออกมาอยูในบริเวณเดียวกันกับห งสวมสําหรับบุคคลทั่วไปก็ได

หนา ๑๓

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

สถานีบริการน้ํามันเชือเพลิงตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง ตองจดใหม ีหองสวม สําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราเขาใชไดอยางนอย ๑ หอง

ข ๒๑ หองสวมสําหรบผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตองมีลักษณะ ดงั ตอไปน

(๑) มีพ้ืนท่ีวางภายในหองสวมเพ่ือใหเกาอี้ลอสามารถหมุนตัวกลับไดซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง ไมนอยกวา ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร

(๒) ประตูของหองที่ต้ังโถสวมเปนแบบบานเปดออกสูภายนอก โดยตองเปดคางไดไมนอย กวา ๙๐ องศา หรือเปนแบบบานเลื่อน และมีสัญลักษณรูปผูพิการติดไวที่ประตูดานหนาหองสวม ลักษณะของประตูนอกจากที่กลาวมาขางตน ใหเปนไปตามที่กําหนดในหมวด ๖

(๓) พื้นหองสวมตองมีระดับเสมอกับพื้นภายนอก ถาเปนพื้นตางระดับตองมีลักษณะเปนทาง ลาดตามหมวด ๒ และวัสดุปูพืนหอ งสวมตองไมล่ืน

(๔) พื้นหองสวมตองมีความลาดเอียงเพียงพอไปยังชองระบายนํ้าทิงเพื่อที่จะไมใหม ีนาํ ขังบนพื้น (๕) มีโถสวมชนิดนั่งราบ สูงจากพื้นไมนอยกวา ๔๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร มีพนกพิงหลังท่ีใหผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราที่ไมสามารถน่ังทรงตัวไดเองใชพิงได และท่ีปลอยนํ้าเปนชนิดคันโยก ปุมกดขนาดใหญหรือชนิดอื่นที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา สามารถใชไดอยางสะดวก มีดานขางดานหน่ึงของโถสวมอยูชิดผนังโดยมีระยะหางวัดจากกึ่งกลางโถ สวมถึงผนังไมนอยกวา ๔๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร ตองมีราวจับที่ผนัง สวนดานที่ ไมชิดผนังใหมีที่วางมากพอที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราท่ีน่ังเกาอ้ีลอสามารถเขาไปใชโถสวม ไดโดยสะดวก ในกรณีที่ดานขางของโถสวมทั้งสองดานอยูหางจากผนังเกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร ตองมี

ราวจับที่มีลักษณะตาม (๗)

(๖) มีราวจับบริเวณดานที่ชิดผนังเพ่ือชวยในการพยุงตัว เปนราวจับในแนวนอนและแนวดิ่ง โดยมีลักษณะ ดงั ตอไปนี้

(ก) ราวจับในแนวนอนมีความสูงจากพื้นไมนอยกวา ๖๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และใหยื่นลํ้าออกมาจากดานหนาโถสวมอีกไมนอยกวา ๒๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๓๐๐ มิลลิเมตร

(ข) ราวจับในแนวดิ่งตอจากปลายของราวจับในแนวนอนดานหนาโถสวมมีความยาววัด จากปลายของราวจบในแนวนอนขึนไปอยางนอย ๖๐๐ มิลลิเมตร

หนา ๑๔

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

ราวจบตาม (๖) (ก) และ (ข) อาจเปนราวตอเนื่องกนก็ได

(๗) ดานขางโถสวมดานท่ีไมชิดผนังใหมีราวจับติดผนังแบบพับเก็บไดในแนวราบ เมื่อกางออก ใหมีระบบล็อกท่ีผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถปลดล็อกไดงาย มีระยะหางจากขอบ ของโถสวมไมนอยกวา ๑๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๒๐๐ มิลลิเมตร และมีความยาวไมนอยกวา ๕๕๐ มิลลิเมตร

(๘) นอกเหนือจากราวจับตาม (๖) และ (๗) ตองมีราวจับเพื่อนําไปสูสุขภัณฑอื่น ๆ ภายใน ห งสวม มีความสูงจากพนื ไมนอยกวา ๘๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร

(๙) ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงใหผูท่ีอยูภายนอกแจงภัยแกผูพิการหรือ

ทุพพลภาพ และคนชรา และระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงใหผูพิการหรือทุพพลภาพ และ คนชราสามารถแจงเหตุหรือเรียกหาผูชวยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไวในหองสวม โดยมีปุมกดหรือ ปุมสัมผัสใหสัญญาณทํางานซึ่งติดตั้งอยูในตําแหนงที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถ ใชงานไดสะดวก

(๑๐) มีอางลางมือโดยมีลักษณะ ดังตอไปนี้

(ก) ใตอางลางมือดานที่ติดผนังไปจนถึงขอบอางเปนที่วาง เพื่อใหเกาอี้ลอสามารถ สอดเขาไปได โดยขอบอางอยูหางจากผนังไมนอยกวา ๔๕๐ มิลลิเมตร และตองอยูในตําแหนงที่

ผ ิการหรือทุพพลภาพ และคนชราเขาประชิดไดโดยไมมีส่ิงกีดขวาง

(ข) มีความสูงจากพื้นถึงขอบบนของอางไมนอยกวา ๗๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๘๐๐

มิลลิเมตร และมีราวจับในแนวนอนแบบพับเก็บไดในแนวด่ิงทั้งสองขางของอาง

(ค) ก กน้ําเปนชนิดกานโยกหรือกานกดห รือกานห มุนหรือระบบอัตโนมัติ

ขอ ๒๒ ในกรณีท่ีหองสวมสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราอยูภายในหองสวม ที่จัดไวสําหรับบุคคลทั่วไป และมีทางเขากอนถึงตัวหองสวม ตองจัดใหหองสวมสําหรับผูพิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชราอยูในตําแหนงที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถเขาถึงได โดยสะดวก

หองสวมสําหรับบุคคลทั่วไปตามวรรคหนึ่ง หากไดจัดสําหรับผูชายและผูหญิงตางหาก จากกันใหมีอักษรเบรลลแสดงใหรูวาเปนหองสวมชายหรือหญิงติดไวที่ผนังขางทางเขาในตําแหนงที่ สามารถสัมผัสไดดวย

หนา ๑๕

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

ขอ ๒๓ ในกรณีท่ีเปนหองสวมสําหรับผูชายท่ีมิใชหองสวมสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชราตามขอ ๒๐ และขอ ๒๑ ใหมีท่ีถายปสสาวะที่มีระดับเสมอพื้นอยางนอย ๑ ที่ โดยมีราวจับ ในแนวนอนอยูดานบนของที่ถายปสสาวะยาวไมนอยกวา ๕๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๖๐๐ มิลลิเมตร มีความสูงจากพื้นไมนอยกวา ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๓๐๐ มิลลิเมตร และมีราวจับดานขาง ของที่ถายปสสาวะทั้งสองขาง มีความสูงจากพ้ืนไมนอยกวา ๘๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร ซ่ึงย่ืนออกมาจากผนงไมนอยกวา ๕๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๖๐๐ มิลลิเมตร

ขอ ๒๔ ราวจับหองสวมใหมีลกษณะตามท่ีกําหนดในขอ ๘ (๗) (ก) และ (ข)

หมวด ๘ พื้นผิวตางสมผัส

ขอ ๒๕ อาคารตามขอ ๓ ต งจัดใหมีพนผิ้ื วตางสัมผัสสําหรับคนพิการทางการมองเห็นท่ีพ้ืน

บริเวณตางระดับที่มีระดับตางกันเกิน ๒๐๐ มิลลิเมตร ที่ทางข้ึนและทางลงของทางลาดหรือบันได ที่พื้นดานหนาและดานหลังประตูทางเขาอาคาร และท่ีพื้นดานหนาของประตูหองสวม โดยมีขนาดกวาง

๓๐๐ มิลลิเมตร และมีความยาวเทากับและขนานไปกับความกวางของชองทางเดินของพื้นตางระดับ ทางลาด บันได หรือประตู และขอบของพื้นผิวตางสัมผัสอยูหางจากจุดเริ่มตนของทางขึ้นหรือทางลง

ของพื้นตางระด ทางลาด บนไดั หรือประตูไมนอยกว า ๓๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๓๕๐ มิลลิเมตร

ในกรณีของสถานีขนสงมวลชน ใหขอบนอกของพ้ืนผิวตางสัมผัสอยูหางจากขอบของชานชาลา ไมนอยกวา ๖๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกินกวา ๖๕๐ มิลลิเมตร

หมวด ๙

โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม

ขอ ๒๖ อาคารตามขอ ๓ ที่เปนโรงมหรสพหรือหอประชุมตองจัดใหมีพื้นที่เฉพาะสําหรับ เกาอ้ีลออยางนอยหนึ่งที่ทุก ๆ จํานวน ๑๐๐ ท่ีนั่ง โดยพื้นที่เฉพาะนี้เปนพื้นที่ราบขนาดความกวาง ไมนอยกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร และความยาวไมนอยกวา ๑,๔๐๐ มิลลิเมตร ตอหนึ่งที่ อยูในตําแหนงที่ เขาออกได

หนา ๑๖

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

ขอ ๒๗ อาคารตามขอ ๓ ที่เปนโรงแรมที่มีหองพักตั้งแต ๑๐๐ หอง ขึ้นไป ตองจัดใหมี หองพักที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา เขาใชไดไมนอยกวาหน่ึงหองตอจํานวนหองพักทุก

๑๐๐ หอง โดยหองพักดงกลาวตองมีสวนประกอบและมีลกษณะ ดังตอไปนี้

(๑) อยูใกลบันไดหรือบันไดหนีไฟหรือลิฟตดับเพลิง

(๒) ภายในหองพักตองจัดใหมีสัญญาณบอกเหตุหรือเตือนภัยท้ังสัญญาณที่เปนเสียงและแสง และระบบสั่นสะเทือนติดตั้งบริเวณท่ีนอนในกรณีเกิดอัคคีภัยหรือเหตุอันตรายอยางอ่ืน เพื่อใหผูที่อยู ภายในหองพักทราบ และมีสวิตชสัญญาณแสงและสวิตชสัญญาณเสียงแจงภัยหรือเรียกใหผูท่ีอยู ภายนอกทราบวามีคนอยูในหองพัก

(๓) มีแผนผังตางสัมผัสของอาคารในชั้นที่มีหองพักที่ผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา เขาใชได มีอักษรเบรลลแสดงตําแหนงของหองพัก บันไดหนีไฟ และทิศทางไปสูบันไดหนีไฟโดยติดไวท่ี ก่ึงกลางบานประตูดานในและอยูสูงจากพื้นไมนอยกวา ๑,๓๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๗๐๐ มิลลิเมตร

คนชรา

(๔) มีสญลักษณรูปผ

ิการติดไวที่ประตูดานหนาหองพักสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และ

ขอ ๒๘ หองพักในโรงแรมที่จัดสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตองมีที่อาบนํ้า ซ่ึงเปนแบบฝกบวหรือแบบอางอาบนําโดยมีลักษณะ ดังตอไปนี้

(๑) ที่อาบน้ําแบบฝกบัว

(ก) มีพื้นที่วางขนาดความกวางไมนอยกวา ๑,๑๐๐ มิลลิเมตร และความยาวไมนอยกวา

๑,๒๐๐ มิลลิเมตร

(ข) มีที่นั่งสําหรับอาบน้ําที่มีความสูงจากพื้นไมนอยกวา ๔๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน

๕๐๐ มิลลิเมตร

(ค) มีราวจับในแนวนอนที่ดานขางของที่นั่ง มีความสูงจากพื้นไมนอยกวา ๖๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา ๖๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และมีราวจับในแนวดิ่งตอจากปลายของราวจับในแนวนอน และมีความยาวจากปลายของราวจับ ในแนวนอนขึ้นไปอยางนอย ๖๐๐ มิลลิเมตร

หนา ๑๗

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

(๒) ท่ีอาบนํ้าแบบอางอาบน้ํา

(ก) มีราวจับในแนวด่ิงอยูหางจากผนังดานหัวอางอาบน้ํา ๖๐๐ มิลลิเมตร โดยปลายดานลาง อยูสูงจากพ้ืนไมนอยกวา ๖๕๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร มีความยาวอยางนอย ๖๐๐ มิลลิเมตร

(ข) มีราวจับในแนวนอนที่ปลายของราวจับในแนวดิ่ง และยาวไปจนจดผนังหองอาบน้ํา ดานทายอางอาบน้ํา

ราวจับในแนวนอนและในแนวด่ิงอาจเปนราวตอเน่ืองกันก็ได และมีลักษณะตามที่กําหนด ในขอ ๘ (๗) (ก) และ (ข)

(๓) ส่ิงของ เครื่องใชหรืออุปกรณภายในที่อาบน้ําใหอยูสูงจากพื้นไมนอยกวา ๓๐๐ มิลลิเมตร แตไมเกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร

บทเฉพาะกาล

ขอ ๒๙ อาคารที่มีอยูกอน หรือไดรับอนุญาตหรือไดยื่นขออนุญาตกอสราง หรือดัดแปลงอาคาร หรือไดแจงตอเจาพนักงานทองถิ่นและไดดําเนินการตามมาตรา ๓๙ ทวิ แลว กอนวันที่กฎกระทรวงนี้

ใช งั คับ ใหไดรบยกเวนไมตองปฏิบัติตามกฎกระทรวงน

ข ๓๐ การดัดแปลงอาคารสําหรับอาคารที่ไดรับยกเวนตามขอ ๒๙ ใหไดรับยกเวนไมตอง

ปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้ ทั้งนี้ ภายใตเง่ือนไขดังตอไปน้ี

(๑) ไมเปนการเพิ่มพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นเกินรอยละสองของพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น ท่ีไดรับอนุญาตไวกอนกฎกระทรวงนี้ใชบังคบั

(๒) ไมเปนการเพิ่มความสูงของอาคาร

(๓) ไมเปนการเพ่ิมพ ที่ปกคลุมดิน

(๔) ไมเปนการเปลี่ยนตําแหนงหรือขอบเขตของอาคารใหผิดไปจากที่ไดรับอนุญาตไวกอน กฎกระทรวงนี้ใชบังคับ

หนา ๑๘

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

การดัดแปลงอาคารที่ไมเปนไปตามเง่ือนไขในวรรคหนึ่ง หรือการเปลี่ยนการใชอาคาร ที่เขาลักษณะอาคารตามขอ ๓ ตองจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และ คนชราตามขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓ ขอ ๑๔ ขอ ๑๕ ขอ ๑๘ ขอ ๑๙ ขอ ๒๐

ขอ ๒๑ ขอ๒๒ ข

๒๓ ขอ ๒๔ และขอ ๒๕

ใหไว ณ วนที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘ พลตํารวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

หนา ๑๙

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๕๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เปนการสมควรกําหนดใหอาคาร บางประเภทตองมีส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผูพิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา เพื่อใหบุคคลดังกลาว มีโอกาสเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ในสังคมได ประกอบกับมาตรา ๕๕ และมาตรา ๘๐ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ไดบัญญัติวาบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก

อันเปนสาธารณะ ความชวยเหลืออื่น และการสงเคราะหจากรัฐ จึงจําเปนต งออกกฎกระทรวงน

หนา ๑๙

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

กฎกระทรวง

ก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

อำศัยอ ำนำจตำมควำมในมำตรำ ๕ (๓) แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ และมำตรำ ๘ (๑) (๒) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยโดยค ำแนะน ำของคณะกรรมกำรควบคุมอำคำรออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิกควำมในบทนิยำมค ำว่ำ “สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือ ทุพพลภำพ และคนชรำ” ในข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับ ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

““สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ” หมำยควำมว่ำ ส่วนของอำคำรที่สร้ำงขึ้นและอุปกรณ์อันเป็นส่วนประกอบของอำคำรที่ติดหรือตั้งอยู่ภำยในและ ภำยนอกอำคำร เพื่ออ ำนวยควำมสะดวกในกำรใช้อำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ และให้หมำยควำมรวมถึงพื้นที่โดยรอบอำคำรนั้นด้วย”

ข้อ ๒ ให้เพิ่มควำมต่อไปนี้เป็นบทนิยำมต่อจำกบทนิยำมค ำว่ำ “ควำมกว้ำงสุทธิ” ในข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘

““พื้นที่หลบภัย” หมำยควำมว่ำ พื้นที่ที่จัดไว้ภำยในและภำยนอกอำคำรส ำหรับเป็นพื้นที่ พักรอกำรช่วยเหลือ กรณีเกิดอัคคีภัยหรือเหตุฉุกเฉิน

“ที่จอดรถส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ” หมำยควำมว่ำ ที่จอดรถส ำหรับ ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำที่มีควำมบกพร่องหรือสูญเสียควำมสำมำรถของอวัยวะในกำรเคลื่อนไหว” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร

ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

หนา ๒๐

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

“ข้อ ๓ อำคำรประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับ ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ตำมที่ก ำหนดในกฎกระทรวงนี้

(๑) อำคำรที่ให้บริกำรสำธำรณะ ได้แก่ โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม สถำนศึกษำ หอสมุด อำคำรประกอบของสนำมกีฬำกลำงแจ้งหรือสนำมกีฬำในร่ม ตลำด ห้ำงสรรพสินค้ำ ศูนย์กำรค้ำ สถำนบริกำร ฌำปนสถำน ศำสนสถำน พิพิธภัณฑสถำน และสถำนีขนส่งมวลชน

(๒) สถำนพยำบำลทั้งของรัฐและเอกชน

(๓) อำคำรที่ประกอบกิจกำรให้บริกำรหรือรับดูแลเด็ก ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ หรือคนชรำ (๔) อำคำรที่ท ำกำรของส่วนรำชกำร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสำหกิจ หรือ

หน่วยงำนของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำย

(๕) ส ำนักงำน อำคำรอยู่อำศัยรวม อำคำรชุด หรือหอพัก ที่เป็นอำคำรขนำดใหญ่

(๖) อำคำรพำณิชยกรรมหรืออำคำรพำณิชยกรรมประเภทค้ำปลีกค้ำส่งที่มีพ้ืนท่ีส ำหรับ ประกอบกิจกำรตั้งแต่ ๕๐ ตำรำงเมตรขึ้นไป

(๗) สถำนีบริกำรน้ ำมัน สถำนีบริกำรก๊ำซปิโตรเลียมเหลว หรือสถำนีบริกำรก๊ำซธรรมชำติ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมน้ ำมันเชื้อเพลิง”

ข้อ ๔ ให้เพิ่มควำมต่อไปนี้เป็นข้อ ๓/๑ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘

“ข้อ ๓/๑ รำยละเอียดเกี่ยวกับป้ำยสัญลักษณ์ รูปสัญลักษณ์ เครื่องหมำย โครงสร้ำง ขนำด กำรจัดวำง และต ำแหน่งที่ตั้งของสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ นอกจำกจะได้ก ำหนดไว้ในหมวด ๑ ป้ำยแสดงสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก หมวด ๒ ทำงลำดและลิฟต์ หมวด ๓ บันได หมวด ๔ ที่จอดรถ หมวด ๕ ทำงเข้ำอำคำร ทำงเดินระหว่ำงอำคำร และ ทำงเชื่อมระหว่ำงอำคำร หมวด ๖ ประตู หมวด ๗ ห้องส้วม หมวด ๘ พื้นผิวต่ำงสัมผัส และหมวด ๙ โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม ศำสนสถำนหรือฌำปนสถำน และอำคำรประเภทและลักษณะอื่น แล้ว ให้เป็นไปตำมมำตรฐำนอื่นที่ได้รับกำรยอมรับทั่วไปและกรมโยธำธิกำรและผังเมืองเห็นชอบ”

ข้อ ๕ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๖ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๖ ป้ำยแสดงสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ต้องมี ควำมชัดเจนและมองเห็นได้ในเวลำกลำงวันและกลำงคืน สัมผัสและรับรู้ได้”

ข้อ ๖ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๗ และข้อ ๘ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๗ อำคำรตำมข้อ ๓ หำกระดับพื้นภำยในอำคำร หรือระดับพื้นภำยในอำคำร กับภำยนอกอำคำร หรือระดับพื้นทำงเดินภำยนอกอำคำร มีควำมต่ำงระดับกันเกิน ๑.๓ เซนติเมตร

หนา ๒๑

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

ให้มีทำงลำดระหว่ำงพื้นที่ต่ำงระดับกัน แต่ถ้ำมีควำมต่ำงระดับกันตั้งแต่ ๖.๔ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน

๑.๓ เซนติเมตร ต้องปำดมุมพื้นส่วนที่ต่ำงระดับกันให้มีควำมลำดชัน ๑ : ๒ ข้อ ๘ ทำงลำดให้มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) พื้นผิวทำงลำดต้องเป็นวัสดุที่ไม่ลื่น

(๒) พื้นผิวของจุดต่อเนื่องระหว่ำงพื้นกับทำงลำดต้องเรียบไม่สะดุด

(๓) มีควำมกว้ำงสุทธิไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร ในกรณีเป็นทำงลำดแบบสองทำงสวนกัน ให้มีควำมกว้ำงสุทธิไม่น้อยกว่ำ ๑.๕๐ เมตร

(๔) มีพื้นที่หน้ำทำงลำดเป็นที่ว่ำงยำวไม่น้อยกว่ำ ๑.๕๐ เมตร

(๕) มีควำมลำดชันไม่เกิน ๑ : ๑๒ และมีควำมยำวช่วงละไม่เกิน ๖ เมตร ในกรณีที่ทำงลำด ยำวเกิน ๖ เมตร ต้องจัดให้มีชำนพักยำวไม่น้อยกว่ำ ๑.๕๐ เมตร คั่นระหว่ำงแต่ละช่วงของทำงลำด (๖) ทำงลำดด้ำนที่ไม่มีผนังกั้นให้ยกขอบสูงจำกพื้นผิวของทำงลำดไม่น้อยกว่ำ ๑๐ เซนติเมตร

และต้องมีรำวจับและรำวกันตก

(๗) ทำงลำดท่ีมีควำมยำวตัง้ แต่ ๑.๘๐ เมตรขึ้นไป ต้องมีรำวจับท้ังสองด้ำน และทำงลำด ที่มีควำมกว้ำงตั้งแต่ ๓ เมตรขึ้นไป ต้องมีรำวจับห่ำงกันไม่เกิน ๑.๕๐ เมตร ทั้งนี้ กรณีที่ต้องติดตั้ง รำวจับเพิ่มเติม ทำงลำดนั้นจะต้องเหลือพื้นที่เพียงพอที่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ หรือคนชรำที่ใช้เก้ำอี้ล้อ สำมำรถเข้ำออกได้อย่ำงสะดวก โดยรำวจับให้มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) ท ำด้วยวัสดุเรียบ มีควำมมั่นคงแข็งแรง ไม่เป็นอันตรำยในกำรจับและไม่ลื่น

(ข) มีลักษณะกลมหรือมีลักษณะมนไม่มีเหลี่ยม โดยมีเส้นผ่ำนศูนย์กลำงไม่น้อยกว่ำ

๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๔ เซนติเมตร

(ค) สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๗๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๙๐ เซนติเมตร

(ง) รำวจับด้ำนที่อยู่ติดผนังให้มีระยะห่ำงจำกผนังไม่น้อยกว่ำ ๔ เซนติเมตร มีควำมสูง จำกจุดยึดไม่น้อยกว่ำ ๑๐ เซนติเมตร และผนังบริเวณรำวจับต้องเป็นผนังเรียบ

(จ) รำวจับต้องยำวต่อเนื่องกันหรือในกรณีที่ไม่สำมำรถท ำให้ต่อเนื่องกันได้ให้มีระยะห่ำง ไม่เกิน ๕ เซนติเมตร และส่วนที่ยึดติดกับผนังจะต้องไม่กีดขวำงหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรใช้ของคนพิกำร ทำงกำรมองเห็น

(ฉ) ปลำยของรำวจับให้ยื่นเลยจำกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของทำงลำดไม่น้อยกว่ำ

๓๐ เซนติเมตร โดยปลำยรำวจับต้องงอหรือเก็บได้

(๘) มีป้ำยแสดงทิศทำง ต ำแหน่ง หรือหมำยเลขชั้นของอำคำรที่คนพิกำรทำงกำรมองเห็น และคนชรำสำมำรถทรำบควำมหมำยได้ โดยตั้งอยู่บริเวณทำงขึ้นและทำงลงของทำงลำดที่เชื่อมระหว่ำงชั้น ของอำคำร

(๙) มีสัญลักษณ์รูปผู้พิกำรติดไว้ในบริเวณทำงลำดที่จัดไว้ให้แก่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ”

หนา ๒๒

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

ข้อ ๗ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๑๐ แห่งกฎกระทรวงก˚ำหนดสิ่งอ˚ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส˚ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๑๐ ลิฟต์ที่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำใช้ได้ที่มีลักษณะเป็นห้องลิฟต์ต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) ขนำดของห้องลิฟต์ต้องมีควำมกว้ำงไม่น้อยกว่ำ ๑.๖๐ เมตร ยำวไม่น้อยกว่ำ ๑.๔๐ เมตร หรือมีควำมกว้ำงไม่น้อยกว่ำ ๑.๔๐ เมตร ยำวไม่น้อยกว่ำ ๑.๖๐ เมตร และสูงไม่น้อยกว่ำ ๒.๓๐ เมตร และมีช่องกระจกใสนิรภัยท่ีสำมำรถมองเห็นระหว่ำงภำยนอกและภำยในได้ ขนำดกว้ำงไม่น้อยกว่ำ

๒๐ เซนติเมตร ยำวไม่น้อยกว่ำ ๘๐ เซนติเมตร และสูงจำกพื้นไม่เกิน ๑.๑๐ เมตร

(๒) ช่องประตูลิฟต์ต้องมีควำมกว้ำงสุทธิไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร และต้องมีระบบแสง เพื่อป้องกันไม่ให้ประตูลิฟต์หนีบผู้โดยสำร

(๓) มีพื้นผิวต่ำงสัมผัสบนพื้นบริเวณหน้ำประตูลิฟต์กว้ำง ๓๐ เซนติเมตร และยำว

๙๐ เซนติเมตร ซึ่งอยู่ห่ำงจำกประตูลิฟต์ไม่น้อยกว่ำ ๓๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร

(๔) ปุ่มกดเรียกลิฟต์ ปุ่มบังคับลิฟต์ และปุ่มสัญญำณแจ้งเหตุฉุกเฉินต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (ก) ปุ่มล่ำงสุดอยู่สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร ปุ่มบนสุดอยู่สูงจำกพื้น

ไม่เกินกว่ำ ๑.๒๐ เมตร และห่ำงจำกมุมภำยในห้องลิฟต์ไม่น้อยกว่ำ ๔๐ เซนติเมตร ในกรณีที่ห้องลิฟต์ มีขนำดกว้ำงและยำวน้อยกว่ำ ๑.๕๐ เมตร

(ข) มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงไม่น้อยกว่ำ ๒ เซนติเมตร มีอักษรเบรลล์ก˚ำกับไว้ทุกปุ่ม เมื่อกดปุ่มจะต้องมีเสียงดังและมีแสง

(ค) ไม่มีสิ่งกีดขวำงบริเวณที่กดปุ่มลิฟต์

(๕) มีรำวจับโดยรอบภำยในลิฟต์ โดยรำวจับมีลักษณะตำมที่ก˚ำหนดในข้อ ๘ (๗) (ก) (ข) (ค)

และ (ง)

(๖) มีตัวเลข เสียง และแสงไฟบอกต˚ำแหน่งชั้นต่ำง ๆ เมื่อลิฟต์หยุด และขึ้นหรือลง

(๗) มีป้ำยแสดงหมำยเลขชั้นและแสดงทิศทำงขึ้นลงของลิฟต์ ซึ่งมีแสงไฟบริเวณโถงหน้ำ

ประตูลิฟต์และติดอยู่ในต˚ำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน

(๘) ในกรณีที่ลิฟต์ขัดข้องให้มีทั้งเสียงและแสงไฟเตือนภัยเป็นไฟกะพริบสีแดง เพื่อให้ คนพิกำรทำงกำรมองเห็นและคนพิกำรทำงกำรได้ยินหรือสื่อควำมหมำยทรำบ และให้มีไฟกะพริบสีเขียว เป็นสัญญำณให้คนพิกำรทำงกำรได้ยินหรือสื่อควำมหมำยได้ทรำบว่ำผู้ที่อยู่ข้ำงนอกรับทรำบแล้วว่ำ ลิฟต์ขัดข้องและก˚ำลังให้ควำมช่วยเหลืออยู่

(๙) มีโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉินภำยในลิฟต์ซึ่งสำมำรถติดต่อกับภำยนอกได้ โดยต้องอยู่สูงจำกพื้น ไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑.๒๐ เมตร

(๑๐) มีระบบชุดไฟฟ้ำส˚ำรองส˚ำหรับกรณีไฟฟ้ำปกติหยุดท˚ำงำน ลิฟต์จะไม่หยุดค้ำงระหว่ำงชั้น แต่จะสำมำรถเคลื่อนที่มำยังชั้นที่ใกล้ที่สุดและบำนประตูลิฟต์ต้องเปิดออกได้

หนา ๒๓

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

(๑๑) ภำยในห้องลิฟต์ต้องมีระบบไฟฟ้ำแสงสว่ำงฉุกเฉินและระบบพัดลมระบำยอำกำศ ซึ่งสำมำรถท ำงำนได้อย่ำงต่อเนื่องไม่น้อยกว่ำ ๑ ชั่วโมง ในกรณีระบบไฟฟ้ำปกติหยุดท ำงำน”

ข้อ ๘ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๑๑ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๑๑ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่มีบันไดภำยในหรือภำยนอกอำคำร ต้องจัดให้มีบันได ที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) มีรำวจับบันไดทั้งสองข้ำงในกรณีที่พื้นมีควำมต่ำงระดับกันตั้งแต่ ๖๐ เซนติเมตรขึ้นไป โดยให้รำวจับมีลักษณะตำมที่ก ำหนดในข้อ ๘ (๗)

(๒) ขั้นบันไดแต่ละช่วงต้องมีควำมสูงของลูกตั้งและควำมลึกของลูกนอนสม่ ำเสมอตลอดทั้ง ช่วงบันได ลูกตั้งสูงไม่เกิน ๑๘ เซนติเมตร โดยผลรวมของลูกตั้งกับลูกนอนไม่น้อยกว่ำ ๔๓ เซนติเมตร และไม่เกิน ๔๘ เซนติเมตร

(๓) พื้นผิวของบันไดต้องใช้วัสดุที่ไม่ลื่น

(๔) ลูกตั้งบันไดห้ำมเปิดเป็นช่องโล่ง เว้นแต่ลูกนอนบันไดยกขอบด้ำนในสูงไม่น้อยกว่ำ

๕ เซนติเมตร

(๕) มีป้ำยแสดงทิศทำง ต ำแหน่ง หรือหมำยเลขชั้นของอำคำรที่สำมำรถทรำบควำมหมำยได้ โดยตั้งอยู่บริเวณทำงขึ้นและทำงลงของบันไดที่เชื่อมระหว่ำงชั้นของอำคำร”

ข้อ ๙ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ และข้อ ๑๔ แห่งกฎกระทรวงก ำหนด สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๑๒ อำคำรตำมข้อ ๓ ต้องจัดให้มีที่จอดรถส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ดังต่อไปนี้

(๑) จ ำนวนที่จอดรถไม่เกิน ๒๕ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๑ คัน

(๒) จ ำนวนที่จอดรถตั้งแต่ ๒๖ คัน แต่ไม่เกิน ๕๐ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๒ คัน (๓) จ ำนวนที่จอดรถตั้งแต่ ๕๑ คัน แต่ไม่เกิน ๗๕ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๓ คัน (๔) จ ำนวนที่จอดรถตั้งแต่ ๗๖ คัน แต่ไม่เกิน ๑๐๐ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๔ คัน (๕) จ ำนวนที่จอดรถตั้งแต่ ๑๐๑ คัน แต่ไม่เกิน ๑๕๐ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๕ คัน (๖) จ ำนวนที่จอดรถตั้งแต่ ๑๕๑ คัน แต่ไม่เกิน ๒๐๐ คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่ำ ๖ คัน

และเพิ่มขึ้นอีก ๑ คัน ส ำหรับที่จอดรถทุกจ ำนวนรถ ๑๐๐ คันที่เพิ่มขึ้น เศษของ ๑๐๐ คัน หำกเกินกว่ำ ๕๐ คัน ให้คิดเป็น ๑๐๐ คัน

ข้อ ๑๓ ที่จอดรถส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำให้จัดไว้ใกล้ทำงเข้ำออกอำคำร ให้มำกที่สุด มีพื้นผิวเรียบ มีระดับเสมอกัน และมีสัญลักษณ์รูปผู้พิกำรอยู่บนพื้นของที่จอดรถ ในลักษณะที่ติดฝั่งเส้นทำงจรำจรมำกที่สุด มีควำมกว้ำงและยำวไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร และมีป้ำย

หนา ๒๔

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

แสดงที่จอดรถส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ขนำดกว้ำงและยำวไม่น้อยกว่ำ

๓๐ เซนติเมตร ติดตั้งอยู่สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๒ เมตร หรือติดตั้งบนผนังของช่องจอดรถ ขนำดกว้ำงและยำวไม่น้อยกว่ำ ๓๐ เซนติเมตร อยู่สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๑.๒๐ เมตร

ข้อ ๑๔ ลักษณะและขนำดของที่จอดรถส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ให้เป็นไปตำมข้อ ๒ และข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๑ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตำมควำมใน พระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และจัดให้มีที่ว่ำงด้ำนข้ำงที่จอดรถ กว้ำงไม่น้อยกว่ำ ๑ เมตร ตลอดควำมยำวของที่จอดรถ โดยที่ว่ำงดังกล่ำวต้องมีลักษณะพื้นผิวเรียบ และมีระดับเสมอกับที่จอดรถ”

ข้อ ๑๐ ให้ยกเลิกควำมใน (๒) และ (๓) ของข้อ ๑๘ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวย ควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน “(๒) หำกมีธรณีประตู ควำมสูงของธรณีประตูต้องไม่เกินกว่ำ ๑.๓ เซนติเมตร และให้ขอบ

ทั้งสองด้ำนมีควำมลำดชันไม่เกิน ๑ : ๒

(๓) ช่องประตูต้องมีควำมกว้ำงสุทธิไม่น้อยกว่ำ ๘๖ เซนติเมตร”

ข้อ ๑๑ ให้ยกเลิกควำมในวรรคสองของข้อ ๒๐ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวย ควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน “สถำนีบริกำรน ้ำมัน สถำนีบริกำรก๊ำซปิโตรเลียมเหลว หรือสถำนีบริกำรก๊ำซธรรมชำติ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมนำมันเชื้อเพลิง ต้องจัดให้มีห้องส้วมส ำหรบผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และ

คนชรำสำมำรถเข้ำใช้ได้อย่ำงน้อย ๑ ห้อง ต่อ ๑ จุดให้บริกำรห้องส้วม”

ข้อ ๑๒ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๒๑ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๒๑ ห้องส้วมส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) มีพื้นที่ว่ำงภำยในห้องส้วมเพื่อให้เก้ำอี้ล้อสำมำรถหมุนตัวกลับได้ซึ่งมีเส้นผ่ำนศูนย์กลำง

ไม่น้อยกว่ำ ๑.๕๐ เมตร

(๒) ประตูของห้องที่ตั้งโถส้วมเป็นแบบบำนเลื่อน หรือเป็นแบบบำนเปิดออกสู่ภำยนอก โดยต้องเปิดค้ำงได้ไม่น้อยกว่ำ ๙๐ องศำ และต้องมีรำวจับแนวนอน และมีสัญลักษณ์รูปผู้พิกำรติดไวที่ ประตูด้ำนหน้ำห้องส้วม ลักษณะของประตูนอกจำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นให้เป็นไปตำมที่ก ำหนดในหมวด ๖ (๓) พื้นห้องส้วมต้องมีระดับเสมอกับพื้นภำยนอก ถ้ำเป็นพื้นต่ำงระดับต้องมีลักษณะเป็นทำงลำด

ตำมหมวด ๒ และวัสดุปูพื้นห้องส้วมต้องไม่ลื่น

(๔) พื้นห้องส้วมต้องมีควำมลำดชันเพียงพอไปยังช่องระบำยน้ ำทิ้งเพื่อที่จะไม่ให้มีน้ ำขังบนพื้น (๕) มีโถส้วมชนิดนั่งรำบ สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๔๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๔๕ เซนติเมตร

และที่ปล่อยน้ ำเป็นชนิดคันโยกหรือปุ่มกดขนำดใหญ่หรือชนิดอื่นที่สำมำรถใช้ได้อย่ำงสะดวก

หนา ๒๕

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

(๖) มีรำวจับบริเวณด้ำนที่ชิดผนังเพื่อช่วยในกำรพยุงตัว เป็นรำวจับในแนวนอนและแนวดิ่ง โดยมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) รำวจับในแนวนอนมีควำมสูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๖๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน

๗๐ เซนติเมตร และให้ยื่นล้ ำออกมำจำกด้ำนหน้ำโถส้วมอีกไม่น้อยกว่ำ ๒๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน

๓๐ เซนติเมตร

(ข) รำวจับในแนวดิ่งต่อจำกปลำยของรำวจับในแนวนอนด้ำนหน้ำโถส้วมมีควำมยำว วัดจำกปลำยของรำวจับในแนวนอนขึ้นไปอย่ำงน้อย ๖๐ เซนติเมตร

ทั้งนี้ รำวจับตำม (ก) และ (ข) อำจเป็นรำวต่อเนื่องกันก็ได้

(๗) ด้ำนข้ำงโถส้วมด้ำนที่ไม่ชิดผนังให้มีรำวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวรำบ หรือแนวดิ่ง เมื่อกำงออกให้มีระบบล็อกที่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำสำมำรถปลดล็อกได้ง่ำย มีระยะห่ำง จำกขอบของโถส้วมไม่น้อยกว่ำ ๑๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร และมีควำมยำวไม่น้อยกว่ำ

๕๕ เซนติเมตร

(๘) นอกเหนือจำกรำวจับตำม (๖) และ (๗) ต้องมีรำวจับเพื่อน ำไปสู่สุขภัณฑ์อื่น ๆ ภำยใน ห้องส้วม มีควำมสูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๘๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๙๐ เซนติเมตร

(๙) ติดตั้งระบบสัญญำณแสงและสัญญำณเสียงให้ผู้ที่อยู่ภำยนอกแจ้งภัยแก่ผู้พิกำรหรือ ทุพพลภำพ และคนชรำ และระบบสัญญำณแสงและสัญญำณเสียงให้ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และ คนชรำสำมำรถแจ้งเหตุหรือเรียกหำผู้ช่วยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไว้ในห้องส้วม โดยมีปุ่มกดหรือ ปุ่มสัมผัสให้สัญญำณท ำงำนซึ่งติดตั้งอยู่ในต ำแหน่งที่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำสำมำรถใช้งำนได้ สะดวก

(๑๐) มีอ่ำงล้ำงมือโดยมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) ใต้อ่ำงล้ำงมือด้ำนที่ติดผนังไปจนถึงขอบอ่ำงเป็นที่ว่ำง เพื่อให้เก้ำอี้ล้อสำมำรถ

สอดเข้ำไปได้ โดยขอบอ่ำงอยู่ห่ำงจำกผนังไม่น้อยกวำ ๔๕ เซนติเมตร และต้องอยู่ในต ำแหนงที่ผู้พิกำร

หรือทุพพลภำพ และคนชรำเข้ำประชิดได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวำง

(ข) ควำมสูงจำกพื้นถึงขอบบนของอ่ำงไม่น้อยกว่ำ ๗๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๘๐ เซนติเมตร และมีรำวจับในแนวนอนแบบพับเก็บได้ในแนวดิ่งทั้งสองข้ำงของอ่ำง

(ค) ก๊อกน้ ำเป็นชนิดก้ำนโยกหรือก้ำนกดหรือก้ำนหมุนหรือระบบอัตโนมัติ”

ข้อ ๑๓ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๒๓ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๒๓ ในกรณีที่เป็นห้องส้วมส ำหรับผู้ชำยที่มิใช่ห้องส้วมส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ตำมข้อ ๒๐ และข้อ ๒๑ ให้มีที่ถ่ำยปัสสำวะที่มีระดับสูงจำกพื้นไม่เกิน ๔๐ เซนติเมตร อย่ำงน้อย ๑ ที่ และมีรำวจับ”

หนา ๒๖

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

ข้อ ๑๔ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๒๕ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำร ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๒๕ อำคำรตำมข้อ ๓ ต้องจัดให้มีพื้นผิวต่ำงสัมผัส ดังนี้

(๑) พื้นผิวต่ำงสัมผัสชนิดเตือนที่พื้น ให้ติดตั้งบริเวณต่ำงระดับที่มีระดับต่ำงกันเกิน

๑๕ เซนติเมตร ท่ีทำงขึ้นและทำงลงของทำงลำดหรือบันได ที่พ้ืนด้ำนหน้ำและด้ำนหลังประตู ทำงเข้ำออกอำคำร ที่พื้นด้ำนหน้ำของประตูห้องส้วม ที่พื้นด้ำนหน้ำของช่องประตูลิฟต์ และบริเวณที่มี สิ่งกีดขวำง โดยมีควำมกว้ำง ๓๐ เซนติเมตร และมีควำมยำวเท่ำกับและขนำนไปกับควำมกว้ำงของ ช่องทำงเดินของพ้ืนต่ำงระดับ ทำงลำด บันได หรือประตู และขอบของพ้ืนผิวต่ำงสัมผัสต้องอยู่ห่ำง จำกจุดเริ่มต้นของทำงขึ้นหรือทำงลงของพ้ืนต่ำงระดับ ทำงลำด บันได หรือประตู ไม่น้อยกว่ำ

๓๐ เซนติเมตร ในกรณีของสถำนีขนส่งมวลชนที่ไม่มีประตูหรือแผงกั้นให้ขอบนอกของพื้นผิวต่ำงสัมผัส อยู่ห่ำงจำกขอบของชำนชำลำไม่น้อยกว่ำ ๖๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๕ เซนติเมตร

(๒) พื้นผิวต่ำงสัมผัสชนิดน ำทำง ให้ติดตั้งในทิศทำงที่น ำไปสู่ทำงเข้ำออกอำคำรจุดบริกำร ข้อมูลข่ำวสำรหรือประชำสัมพันธ์ ห้องน้ ำ ห้องส้วม ลิฟต์ หรือบันได”

ข้อ ๑๕ ให้ยกเลิกชื่อหมวด ๙ โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม แห่งกฎกระทรวง ก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“หมวด ๙

โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม ศำสนสถำนหรือฌำปนสถำน และอำคำรประเภทและลักษณะอื่น” ข้อ ๑๖ ให้ยกเลิกควำมในข้อ ๒๖ และข้อ ๒๗ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวย

ควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๒๖ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่เป็นโรงมหรสพหรือหอประชุมต้องจัดให้มีพื้นที่ส ำหรับ เก้ำอี้ล้อ ดังต่อไปนี้

(๑) จ ำนวนที่นั่งไม่เกิน ๑๐๐ ที่นั่ง ให้มีพื้นที่ส ำหรับเก้ำอี้ล้อไม่น้อยกว่ำ ๒ ที่

(๒) ในกรณีที่มีที่นั่งเกินกว่ำ ๑๐๐ ที่นั่งขึ้นไป ให้เพิ่มพื้นที่ส ำหรับเก้ำอี้ล้อ ๑ ที่ต่อทุก

๕๐ ที่นั่งที่เพิ่มขึ้น เศษของ ๕๐ ที่นั่ง ให้คิดเป็น ๕๐ ที่นั่ง

(๓) พื้นที่ส ำหรับเก้ำอี้ล้อต้องเป็นพื้นที่รำบอยู่ในต ำแหน่งที่เข้ำออกได้สะดวก มีขนำดของพื้นที่ กว้ำงไม่น้อยกว่ำ ๙๐ เซนติเมตร และยำวไม่น้อยกว่ำ ๑.๔๐ เมตร

ข้อ ๒๗ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่เป็นโรงแรมต้องจัดให้มีห้องพักที่มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำทุกชั้น ชั้นละไม่น้อยกว่ำ ๑ ห้อง และในกรณีที่โรงแรม มีลักษณะเป็นอำคำรชั้นเดียวต้องจัดให้มีห้องพักที่มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ดังต่อไปนี้

หนา ๒๗

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

(๑) จ ำนวนห้องพักไม่เกิน ๑๐ ห้อง ให้มีห้องพักที่มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำร หรือทุพพลภำพ และคนชรำ ไม่น้อยกว่ำ ๑ ห้อง

(๒) ในกรณีที่มีห้องพักเกินกว่ำ ๑๐ ห้องขึ้นไป ให้เพิ่มห้องพักที่มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ๑ ห้องต่อทุก ๑๐ ห้องที่เพิ่มขึ้น เศษของ ๑๐ ห้อง ให้คิดเป็น ๑๐ ห้อง”

ข้อ ๑๗ ให้เพิ่มควำมต่อไปนี้เป็นข้อ ๒๗/๑ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘

“ข้อ ๒๗/๑ ห้องพักที่มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ตำมข้อ ๒๗ ต้องมีส่วนประกอบและมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) อยู่ใกล้บันไดหรือบันไดหนีไฟหรือลิฟต์ดับเพลิง

(๒) ภำยในห้องพักต้องจัดให้มีสัญญำณบอกเหตุหรือเตือนภัยทั้งสัญญำณที่เป็นเสียงและแสง และระบบส่ันสะเทือนติดตั้งบริเวณท่ีนอนในกรณีเกิดอัคคีภัยหรือเหตุอันตรำยอย่ำงอื่นเพื่อให้ผู้ที่อยู่ ภำยในห้องพักทรำบ และมีสวิตช์สัญญำณแสงและสวิตช์สัญญำณเสียงแจ้งภัยหรือเรียกให้ผู้ที่อยู่ ภำยนอกทรำบว่ำมีคนอยู่ในห้องพัก

(๓) มีแผนผังต่ำงสัมผัสแสดงต ำแหน่งของห้องพัก บันไดหนีไฟ และทิศทำงไปสู่บันไดหนีไฟ โดยติดไว้ที่กึ่งกลำงบำนประตูด้ำนในและอยู่สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ ๑.๓๐ เมตร แต่ไม่เกิน ๑.๗๐ เมตร”

ข้อ ๑๘ ให้เพิ่มควำมต่อไปนี้เป็นข้อ ๒๘/๑ ข้อ ๒๘/๒ และข้อ ๒๘/๓ ของหมวด ๙ โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับ ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘

“ข้อ ๒๘/๑ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่เป็นศำสนสถำนหรือฌำปนสถำน หำกไม่สำมำรถจัดให้มี ทำงลำดหรือลิฟต์ตำมข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๙ และข้อ ๑๐ ได้ อย่ำงน้อยต้องจัดให้มีอุปกรณ์ขึ้นลง ทำงดิ่งที่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำสำมำรถเข้ำใช้ได้

ข้อ ๒๘/๒ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่เป็นอำคำรอยู่อำศัยรวม อำคำรชุด หรือหอพัก ให้จัดให้มี สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำในทุกชั้นของอำคำรที่มีพื้นที่ใช้สอย ที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันที่มิใช่ทำงเดินร่วมกัน

ข้อ ๒๘/๓ อำคำรตำมข้อ ๓ ที่เป็นอำคำรสูงหรืออำคำรขนำดใหญ่พิเศษ ต้องจัดให้มีพื้นที่ หลบภัย ระบบกำรเตือนภัย และกำรขอควำมช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน”

ข้อ ๑๙ อำคำรตำมข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับ ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และอำคำรตำมข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวงก ำหนด สิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงนี้ ที่มีอยู่แล้วก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ หรือที่ได้รับใบอนุญำตหรือ ใบรับแจ้งกำรก่อสร้ำง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนกำรใช้ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมอำคำร และยังก่อสร้ำง

หนา ๒๘

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

ดัดแปลง หรือเปลี่ยนกำรใช้ไม่แล้วเสร็จ หรือที่ได้ยื่นขออนุญำตหรือได้แจ้งกำรก่อสร้ำง ดัดแปลง หรือ เปล่ียนกำรใช้อำคำรต่อเจ้ำพนักงำนท้องถ่ินตำมมำตรำ ๓๙ ทวิ ไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ และยังอยู่ระหว่ำงกำรพิจำรณำของเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตำมกฎกระทรวงนี้ ข้อ ๒๐ อำคำรตำมข้อ ๑๙ หำกประสงค์จะดัดแปลงอำคำรภำยหลังที่กฎกระทรวงนี้

ใช้บังคับ ให้ได้รับกำรยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตำมกฎกระทรวงนี้ เมื่อได้ปฏิบัติตำมเงื่อนไข ดังต่อไปนี้

(๑) ไม่เป็นกำรเพิ่มพื้นที่อำคำรรวมกันทุกชั้นเกินร้อยละสองของพื้นที่อำคำรรวมกันทุกชั้น ที่ได้รับอนุญำตไว้ก่อนกฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ

(๒) ไม่เป็นกำรเพิ่มควำมสูงของอำคำร (๓) ไม่เป็นกำรเพิ่มพื้นที่ปกคลุมดิน

(๔) ไม่เป็นกำรเปล่ียนต ำแหน่งหรือขอบเขตของอำคำรให้ผิดไปจำกที่ได้รับอนุญำตไว้ก่อน กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ

กำรดัดแปลงอำคำรที่ไม่เป็นไปตำมเงื่อนไขในวรรคหนึ่ง หรือมีกำรเปลี่ยนกำรใช้อำคำร ให้เป็นอำคำรตำมข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือ ทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มีสิ่งอ ำนวย ควำมสะดวกส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ตำมข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๑๕ ข้อ ๑๙ ข้อ ๒๒ และข้อ ๒๔ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือ ทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ และข้อ ๖ ข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๘ ข้อ ๒๐ ข้อ ๒๑ ข้อ ๒๓ และข้อ ๒๕ แห่งกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำร หรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงนี้ด้วย

ให้ไว้ ณ วนที่ 5 กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖4 พลเอก อนุพงษ์ เผ่ำจินดำ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย

หนา ๒๙

เลม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๔ มีนาคม ๒๕๖๔

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีอำคำรตำมประเภทและลักษณะ ที่ก ำหนดไว้ในกฎกระทรวงก ำหนดสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ. ๒๕๔๘ ไม่เหมำะสมกับควำมเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยมีรูปแบบสถำปัตยกรรมที่หลำกหลำยมำกขึ้น และยังไม่ครอบคลุมถึงอำคำรบำงประเภทที่มีขนำดและลักษณะที่สมควรต้องจัดให้มีสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก ส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ เพื่อรองรับและอ ำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำในกำรเข้ำถึงและใช้ประโยชน์อำคำรได้มำกยิ่งขึ้น สมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภท ขนำด และ ลักษณะของอำคำร และสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก รวมทั้งข้อก ำหนดเกี่ยวกับกำรติดตั้ง ขนำด จ ำนวน และ มำตรฐำนของสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในอำคำรส ำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ ให้เหมำะสม สอดคล้องและเป็นที่ยอมรับของนำนำประเทศ จึงจ ำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

หน ๒

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๕๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔

ประกาศกระทรวงคมนาคม

เร่ือง ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม กําหนดหลักเกณฑ์

วิธีการและเงื่อนไขการคุ ครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนแกผสงูู้่ อายุในส่วนที่เกี่ยวของ้

กับการบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทงั การขนส่งสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๔

อาศยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๑) (๕) และ (๖) แห่งพระราชบัญญัติผ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และข้อ ๒ แห่งประกาศ สํานักนายกรฐั มนตรี เรื่อง การกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ลงวันที่

๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมจึงออกประกาศไว้ ดงต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง ให้หน่วยงานในสังกัด กระทรวงคมนาคม กําหนดหลกเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุน แก่ผู้สูงอายุในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมท้ังการขนส่ง สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๔”

ข้อ ๒ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง ให้หน่วยงานในสงกัดกระทรวงคมนาคม กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนแก่ผู้สูงอายุในส่วนที่

เกี่ยวข้องกับการขนส่งสาธารณะ ลงวันท ๑ ก ยายน พ.ศ. ๒๕๔๗

ข้อ ๓ ให้หน่วยบริการในระดับโรงพยาบาลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม ให้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขแก่ผู้สูงอายุดังต่อไปนี้

(๑) จัดให้มีช่องทางเฉพาะสําหร

ผู้สูงอายุแยกจากผู้รับบริการท่ัวไปในแผนกผ

่วยนอก

(๒) กําหนดข ตอนและระยะเวลาในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ โดยปดิ ประกาศไว้ให้ชัดเจน

และให้มีการประชาสัมพันธ์ในระหว่างให้บริการด้วย

ข้อ ๔ ให้คณะกรรมการตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกบการขนส่งสาธารณะ ในสังกัดกระทรวง

คมนาคม จัดให้มีการค ครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนแกผสู้่ ูงอายุ ดังน

(๑) อํานวยความสะดวก และความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการ ขนส่งสาธารณะในความรับผิดชอบ เช่น ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือการบริการสาธารณะอื่น

(๒) ลดอัตราค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม

ข้อ ๕ ให้คณะกรรมการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้น ๆ กําหนดหลักเกณฑ์วิธีการและ เง่ือนไขเพ่ือให้เป็นไปตามวตถุประสงค์ดังกล่าวในข้อ ๑ และออกประกาศกําหนดเพ่ือให้ทราบโดยทั่วกัน

หน ๓

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๕๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔

ข้อ ๖ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการรณรงค์ให้ประชาชนเน้นถึงความสําคัญ และตระหนักถึงการให้ความช่วยเหลือ อํานวยความสะดวก และความปลอดภัยแก่ผู้สูงอายุในการ โดยสารยานพาหนะและขนส่งมวลชน

ข้อ ๗ ให้รายงานผลการปฏิบัติให้กระทรวงคมนาคมทราบเป็นระยะตามความเหมาะสม

ข ๘ ประกาศนใี ห้ใช้บังคับต้ังแต่วันถ จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ ว

ที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ โสภณ ซารัมย์

รฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓

ข้อบังคับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

ว่าดว

ยการก าหนดอัตราค่าโดยสาร วธ

ีการจัดเก็บค่าโดยสาร และการก าหนดประเภทบุคคล

ที่ได้รับการยกเว้นไมต

้องช าระค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล พ.ศ. ๒๕๖๓

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ว่าด้วย การก าหนดอัตราค่าโดยสาร วิธีการจัดเก็บค่าโดยสาร และการก าหนดประเภทบุคคลที่ได้รับการยกเวน้ ไม่ต้องช าระค่าโดยสารรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้าสายสีน ˚าเงิน พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อก าหนดอัตรา ค่าโดยสารรถไฟฟ้าให้สอดคล้องกับสัญญาสัมปทาน โครงการรถไฟฟ้าสายสีน˚ าเงิน

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๘ (๑๓) แห่งพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจึงออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี˚

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี˚เรียกว่า “ข้อบังคับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ว่าด้วย การก าหนดอัตราค่าโดยสาร วิธีการจัดเก็บค่าโดยสาร และการก าหนดประเภทบุคคลที่ได้รับการยกเวน้ ไม่ต้องช าระค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล พ.ศ. ๒๕๖๓”

ข้อ ๒ ข้อบังคับนี˚ให้ใช้บังคับตั˚งแต่วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไป

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการก าหนด อัตราค่าโดยสาร วิธีการจัดเก็บค่าโดยสาร และการก าหนดประเภทบุคคลที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องช าระ ค่าโดยสารรถไฟฟ้า โครงการรถไฟฟ้าสายสีน˚ าเงิน พ.ศ. ๒๕๖๑

ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี˚

“เด็ก” หมายความว่า บุคคลอายุไม่เกินสิบสี่ปีบริบูรณ์

“บริเวณซึ่งมีการใช้บัตรโดยสารแล้ว” หมายความว่า พื˚นที่ในสถานีรถไฟฟ้าส่วนที่คนโดยสาร ได้ผ่านการตรวจบัตรโดยสารรถไฟฟ้าแล้ว

ข้อ ๕ เส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล แบ่งเป็นสามช่วง ช่วงแรกเริ่มตั˚งแต่ สถานีรถไฟฟ้าหัวล าโพงผ่านสถานีรถไฟฟ้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์จนถึงสถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ ช่วงที่สองเริ่มตั˚งแต่สถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ ถึงสถานีรถไฟฟ้าท่าพระ และช่วงที่สามเริ่มตั˚งแต่สถานี รถไฟฟ้าหัวล าโพง ถึงสถานีรถไฟฟ้าหลักสอง

ข้อ ๖ ค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ให้เป็นไปตามอัตราค่าโดยสาร รถไฟฟ้า ดังนี˚

หนา ๓๕

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓

จ ำนวนสถำนี๑๐๑๑๑๒
อัตรำค่ำโดยสำร๑๗๑๙๒๑๒๔๒๖๒๘๓๑๓๓๓๕๓๘๔๐๔๒

ข้อ ๗ อัตราค่าโดยสารของบุคคลดังต่อไปนี˚ให้มีอัตรากึ่งหนึ่งของอัตราค่าโดยสารตามขอ ๖ ทั˚งนี˚ ในกรณีมีเศษไม่เต็มจ˚านวนบาท ให้ปรับเศษดังกล่าวให้เต็มจ˚านวนบาท

(๑) บุคคลซึ่งมีอายุหกสิบปีบริบูรณ์ขึ˚นไป

(๒) เด็กซึ่งมีความสูงเกินเก้าสิบเซนติเมตรแต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบเซนติเมตร

ข้อ ๘ ค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ให้เริ่มคิดต˚ังแต่คนโดยสาร ได้ผ่านเข้าไปในบริเวณซึ่งมีการใช้บัตรโดยสารแล้ว

ในกรณีที่คนโดยสารเข้าไปในบริเวณซึ่งมีการใช้บัตรโดยสาร ณ สถานีใดสถานีหนึ่งแล้ว ให้เริ่มคิดค่าโดยสารรถไฟฟ้าในอัตราค่าโดยสารจ˚านวนหนึ่งสถานี

ข้อ ๙ วิธีการจัดเก็บค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ให้กระท˚าโดย บัตรโดยสารรถไฟฟ้า เหรียญโดยสารรถไฟฟ้า หรือวิธีการอื่นตามที่คณะกรรมการการรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยก˚าหนด

ข้อ ๑๐ ให้ยกเว้นค่าโดยสารรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ให้แก่บุคคล ดังต่อไปนี˚ (๑) เด็กซึ่งมีความสูงไม่เกินเก้าสิบเซนติเมตร

(๒) คนพิการ โดยคนพิการดังกล่าวต้องแสดงบัตรประจ˚าตัวคนพิการที่ทางราชการออกให้ ก่อนใช้บริการ

ข้อ ๑๑ ให้คณะกรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยประกาศก˚าหนดอัตรา ค่าโดยสารรถไฟฟ้าที่ต่˚ากว่าอัตราค่าโดยสารรถไฟฟ้าหรือยกเว้นค่าโดยสารรถไฟฟ้าตามที่ก˚าหนดในข้อ ๖ ได้เป็นครั˚งคราว เพื่อส่งเสริมการใช้บริการรถไฟฟ้า หรือเพื่อสนับสนุนกิจกรรมตามนโยบายของรัฐบาล หรือในกรณีที่มีความจ˚าเป็นเพื่อประโยชน์สาธารณะ

ประกาศ ณ วนที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖3

สราวธ ทรงศิวไล

ประธานกรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

มาตรา ๑๑ (๗) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ

    

   



     

      





 

 ..     



 

 

     

 ..  

    

    

    

. 

     



 

. 





 



   



      

    

     .. 









    

หนา ๒๑

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒

ประกาศกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

เรื่อง ยกเว้นค่าบริการหรือค่าตอบแทนในการเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ให้แก่ผู้สูงอายุ

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พิจารณาแล้ว เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ได้รับโอกาสในการเข้าไปศึกษาธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ตระหนักถึง ความส าคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและเป็นไปตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 (7) ที่ต้องการให้ผู้สูงอายุได้รับการยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ

อาศัยอ านาจตามระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการเก็บค่าบริการหรือค่าตอบแทนในการที่พนักงาน เจ้าหน้าที่ให้บริการหรือให้ความสะดวกในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๔๐ ข้อ ๕ ประกอบมาตรา ๑๐๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอ านาจ หน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๑๖๑ แห่งพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการ

ให้เป็นไปตามพระราชบ ญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ กรมอุทยานแห่งชาต

สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงออกประกาศไว้ ดังนี้

1. ผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ และมีสัญชาติไทย ให้ได้รับการยกเว้นค่าบริการ หรือค่าตอบแทนเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทุกแห่ง

2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการยกเว้นค่าบริการหรือค่าตอบแทนเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามข้อ 1 ต้องแสดงบัตรประจ าตัวประชาชน หรือหลักฐานที่แสดงว่ามีสัญชาติไทย และมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์แก่เจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า

จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วนที่ 13 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖2 ธัญญา เนติธรรมกุล

อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป่า และพันธุ์พืช

หนา ๘

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ ธันวาคม ๒๕๕๑

ระเบียบกรมทรัพยากรธรณี

วาดวยการเขาชมพิพิธภณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และอัตราคาเขาชมหรือคาบริการอื่น

พ.ศ. ๒๕๕๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๖ แหงพระราชบัญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเปนพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งตามมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ แหงกฎหมาย อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีจึงกําหนดระเบียบ วาดวยการเขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพ ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และอัตราคาเขา ชมหรือคาบริการอื่น ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกรมทรัพยากรธรณี วาดวยการเขาชมพิพิธภัณฑ ซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และอตั ราคาเขาชมหรือคาบริการอื่น พ.ศ. ๒๕๕๑”

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป

ขอ ๓ หามมิใหผูเขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา กระทําการดงั ตอไปนี้

(๑) ขีด เขียน หรือกระทําใหปรากฏดวยประการใด ๆ บนซากดึกดําบรรพทรัพยากรธรณี แผนพิมพแสดง อุปกรณสวนจัดแสดง อาคารสถานที่ในพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

(๒) กระทําการใด ๆ อันเปนเหตุใหเกิดความชํารุด เสียหาย กอใหเกิดความสกปรก และไมเปนระเบียบแกพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา

(๓) กระทําการใด ๆ ภายในพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา เปนที่นารังเกียจหรือเสอมเสียตอศีลธรรมอนดี หรือสงเสียงอออึง หรือกอความรําคาญแกบุคคลอื่น

(๔) เสพของมึนเมา นําเครื่องดื่มและอาหารมารับประทานในพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพ ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา นอกจากสถานที่ซึ่งจัดไวให

(๕) นําสัตวเลี้ยงทุกชนิดเขามาในอาคารจัดแสดงของพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

หนา ๙

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ ธันวาคม ๒๕๕๑

ผูใดไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง จนเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกซากดึกดําบรรพที่อยูใน พิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา ตองระวางโทษตามกฎหมาย

ขอ ๔ การบันทึกภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ บันทึกเทป ถายสารคดี หรือถายทํา ภาพยนตร ภายในอาคารจัดแสดงดวยวิธีใดเพื่อประโยชนในทางการคา จะตองไดรับอนุญาตจาก เจาหนาที่พิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยาที่อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีมอบหมาย และตองเสียคาบริการในอัตราที่อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีประกาศกําหนด ตามความเหมาะสม ของแตละพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา

ขอ ๕ ในกรณีที่มีการเขาชมเปนหมูคณะ ผูเขาชมอาจรองขอใหเจาหนาที่จัดมัคคุเทศก เพื่อใหบริการนําชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา และตองเสียคาบริการ ในอัตราที่อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีประกาศกําหนด ตามความเหมาะสมของแตละพิพิธภัณฑ ซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา

ขอ ๖ ผูเขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา ตองเสียคาเขาชม ไมเกินอัตราที่กําหนดตามบัญชีแนบทายระเบียบนี้ ทั้งนี้ใหอธิบดีกรมทรัพยากรธรณีประกาศกําหนด ตามความเหมาะสมของแตละพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา

ขอ ๗ บุคคลดังตอไปนี้เขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา ไดรับยกเวนคาเขาชมตามขอ ๖

(๑) ภิกษุ สามเณร ในพระพุทธศาสนา หรือนักพรตและนกบวชในศาสนาอื่น

(๒) นักเรียน นิสิต และนักศึกษาในเครื่องแบบ หรือหากไมไดแตงเครื่องแบบตองแสดง บัตรประจําตวนักเรียน นิสิต และนกศึกษาที่สถาบันการศึกษาที่ตนสังกัดอยูออกให

(๓) นักเรียน นิสิต และนักศึกษา รวมทั้งครูและอาจารยผูควบคุม ในกรณีที่สถาบันการศึกษา ขอเขาชมเปนหมูคณะ

(๔) คนพิการและดอยโอกาส

(๕) ผูเขาเยี่ยมชมกรณีพิเศษตามคําเชิญของกรมทรัพยากรธรณี

(๖) เด็กที่มีอายุไมเกิน ๑๒ ปบริบูรณ หรือผูสูงวัยอายุเกิน ๖๐ ปบริบูรณขึ้นไป และมี สัญชาติไทย

(๗) ทหารผานศึกที่แสดงบัตรที่ตนสังกัดออกให

(๘) พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบญญัติคุมครองซากดึกดําบรรพ พ.ศ. ๒๕๕๑

หนา ๑๐

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๘๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ ธันวาคม ๒๕๕๑

(๙) บุคคลที่มีบัตรที่อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีประกาศกําหนดออกใหเนื่องจากเปนผูทํา คุณประโยชนใหกับพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยา หรือทางวิชาการเกี่ยวกับ ซากดึกดําบรรพ

ขอ ๘ การใชหองประชุมหรือหองบรรยายภายในพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา การเชาสถานที่ขายของที่ระลึก รานอาหาร ตองเสียคาบริการในอัตราที่อธิบดี

กรมทรพยากรธรณีประกาศกําหนด ตามความเหมาะสมของแตละพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยา

และธรรมชาติวิทยา

ขอ ๙ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี อาจประกาศยกเวนคาเขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพ ธรณีวิทยาและธรรมชาติวิทยาในโอกาสพิเศษตามความเหมาะสม

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรีชา จันทรศิริตานนท อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี

บัญชีอัตราคาเขาชมพิพิธภัณฑซากดึกดําบรรพธรณีวิทยา และธรรมชาติวิทยา

อัตราคาเขาชมไมเกินคนละ (บาท)
คนไทยชาวตางชาติ
๑๐๐๒๐๐

ประกาศอัตราค่าบริการสวนสัตว์ ฟรีค่าเข้าชมสวนสัตว์ส�าหรับผู้สูงอายุ

มาตรา ๑๑ (๘) การช่วยเหลือผู้สูงอายุ ซึ่งได้รับอันตรายจาก การถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน์

โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้ง

มาตรา ๑๑ (๙)

การให้ค�าแนะน�า ปรึกษา ด�าเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของส านักงานอัยการสูงสุดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิ การส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546

๑. ส ำนักงำนอัยกำรสูงสุดมีนโยบำยเกี่ยวกับสังคมและคุณภำพชีวิต ในด้ำนควำมมั่นคง ของชีวิตและสังคม โดยสนับสนุนกำรสร้ำงหลักประกันควำมมั่นคงและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ในเด็ก ผู้สูงอำยุ ผู้ด้อยโอกำสและควบคู่กับกำรบังคับใช้กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับควำมปลอดภัยสำธำรณะและ สิ่งแวดล้อมอย่ำงเคร่งครัด

๒. กำรคุ้มครองสิทธิทำงศำลแก่ประชำชน ตำมที่ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์และ กฎหมำยอื่นบัญญัติให้อยู่ในอ ำนำจหน้ำที่ของพนักงำนอัยกำร เช่น กำรขอให้จัดตั้งผู้จัดกำรมรดก กำรตั้งผู้ปกครอง กำรถอนอ ำนำจปกครอง กำรขอรับบุตรบุญธรรม กำรตั้งผู้อนุบำล กำรขอให้ศำลสั่งเป็นคนสำบสูญ และอื่น ๆ ทั้งนี้ โดยไม่ค ำนึงถึงฐำนะ รำยได้ ของผู้ขอรับกำรคุ้มครองสิทธิและไม่คิดค่ำตอบแทนใด ๆ จำกผู้ขอรับ กำรคุ้มครองสิทธิ แต่ทั้งนี้ ผู้ขอรับกำรคุ้มครองสิทธิจะต้องรับภำระค่ำธรรมเนียมศำลและค่ำใช้จ่ำยในกำร ด ำเนินกำรชั้นศำลตำมอัตรำที่กฎหมำยก ำหนด แต่อย่ำงไรก็ตำมหำกผู้ขอรับกำรคุ้มครองสิทธิเป็นผู้ยำกจน ไม่มีเงินเสียค่ำธรรมเนียมศำลดังกล่ำว สำมำรถขอรับควำมช่วยเหลือจำกเงินกองทุนยุติธรรม ส ำนักงำนปลัด กระทรวงยุติธรรมได้

๓. กำรจัดให้มีบริกำรช่วยเหลือทำงกฎหมำยแก่ประชำชน โดยจัดให้มีพนักงำนอัยกำร นิติกร เจ้ำหน้ำที่ หรือ ทนำยควำมอำสำ ไว้บริกำรให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำยแก่บุคคลดังกล่ำว อย่ำงเพียงพอเพื่อให้รับควำมสะดวกรวดเร็วรวมทั้งมีกำรควบคุมดูแลและประเมินผลกำรให้บริกำรดังกล่ำว ให้ด ำเนินไปด้วยควำมเรียบร้อย ถูกต้องและเป็นธรรม ซึ่งกำรให้บริกำรดังกล่ำว ส ำนักงำนอั ยกำรสูงสุด ให้บริกำรโดยไม่คิดค่ำตอบแทนใด ๆ จำกผู้ขอรับควำมช่วยเหลือ

กำรบริกำรให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำย ได้แก่ กำรให้ค ำปรึกษำหำรือทำงกฎหมำย กำรให้ควำมช่วยเหลือในกำรจัดท ำนิติกรรมสัญญำ กำรให้ควำมช่วยเหลือในกำรประนอมข้อพิพำท และ ให้ควำมช่วยเหลือทำงอรรถคดี เช่น กำรรับว่ำต่ำง กำรรับแก้ต่ำง กำรยื่นค ำร้องในคดีแพ่ง คดีอำญำ คดีแรงงำน และอื่น ๆ ดังนี้

(ก) กำรให้ค ำปรึกษำหำรือทำงกฎหมำยเป็นกำรให้บริกำรแก่ประชำชนโดยเสมอภำคกัน โดยไม่ ค ำนึงถึงฐำนะ รำยได้ โดยจะให้ค ำปรึกษำไปในทำงที่ถูกที่ควรตำมท ำนองคลองธรรม ไม่เป็นกำรเอำรัดเอำเปรียบผู้อื่น และไม่ฝ่ำฝืนหรือหลีกเลี่ยงกฎหมำย

(ข) กำรให้ควำมช่วยเหลือในกำรจัดท ำนิติกรรมหรือสัญญำ จะพิจำรณำให้ควำมช่วยเหลือ เฉพำะประชำชนผู้ยำกจนเท่ำนั้น โดยจัดท ำไปตำมประสงค์ของผู้ขอควำมช่วยเหลือ แต่ทั้งนี้จะต้องเป็นไปด้วย ควำมเป็นธรรมและไม่ฝ่ำฝืนกฎหมำย

(ค) กำรให้ควำมช่วยเหลือในกำรประนอมข้อพิพำท ให้กระท ำโดยไม่ค ำนึงถึงฐำนะ รำยได้ ของผู้ขอรับควำมช่วยเหลือ เพื่อยุติข้อพิพำทอันจะมีผลให้เกิดควำมเป็นธรรมและควำมสงบเรียบร้อยในสังคม

/(ง) กำรให้ควำมช่วยเหลือ...

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

-๒-

(ง) กำรให้ควำมช่วยเหลือในทำงอรรถคดี ให้พิจำรณำให้ควำมช่วยเหลือในกรณีต่อไปนี้

(๑) ในทำงคดีอำญำ ให้พิจำรณำรับว่ำต่ำงหรือแก้ต่ำงได้เฉพำะคดีที่เป็นควำมผิด อันยอมควำมได้ และผู้เสียหำยหรือผู้ขอควำมช่วยเหลือยังมิได้ร้องทุกข์หรือมอบคดีให้พนักงำนสอบสวน ด ำเนินกำรตำมกฎหมำย และถ้ำผู้ขอควำมช่วยเหลือเป็นผู้ต้องหำหรือจ ำเลยในคดีที่จะมำขอควำมช่วยเหลือ จะต้องปรำกฏว่ำผู้ขอควำมช่วยเหลือไม่เป็นผู้ต้องหำหรือจ ำเลยในคดีที่พนักงำนอัยกำรเป็นผู้สั่งคดี หรือเป็นโจทก์ และต้องปรำกฏว่ำผู้ขอควำมช่วยเหลือเป็นผู้ยำกจนประกอบกับมีหลักฐำนเพียงพอว่ำผู้ขอ ควำมช่วยเหลือไม่ได้รับควำมเป็นธรรม สมควรได้รับควำมช่วยเหลือ

(๒) ในทำงคดีแพ่ง และอื่น ๆ ให้พิจำรณำรับว่ำต่ำงหรือแก้ต่ำง กรณีอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด

ดังต่อไปนี้

(ก) ผู้ยำกจนซึ่งได้รับควำมเดือดร้อนหรือเสียหำย เนื่องจำกไม่ได้รับควำมเป็นธรรม (ข) คดีที่มีเหตุจ ำเป็นหรือมีเหตุอันสมควรให้ควำมช่วยเหลือ

(จ) กำรให้ควำมช่วยเหลือทำงอรรถคดี ตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วย

กำรช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจน

(ฉ) ส ำหรับกรณีที่ส ำนักงำนอัยกำรสูงสุดจะไม่รับด ำเนินกำรให้ควำมช่วยเหลือ

ตำม ๓ (ก) ถึง (จ) มีดังนี้

(๑) เรื่องที่รัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี หรือนำยกรัฐมนตรี ในฐำนะหัวหน้ำ

รัฐบำลมีมติหรือค ำสั่งเด็ดขำด ในเรื่องนั้นแล้ว

(๒) เรื่องที่กฎหมำยก ำหนดให้เป็นหน้ำที่ของหน่วยงำนใดโดยเฉพำะ เป็นผู้ช่วยเหลือ และเรื่องอยู่ในระหว่ำงด ำเนินกำรของหน่วยงำนนั้น ๆ

(๓) เรื่องที่อธิบดีอัยกำรหรืออธิบดีอัยกำรภำคสั่งยุติควำมช่วยเหลือแล้ว เว้นแต่ในกรณีที่มีพยำนหลักฐำนใหม่ อันจะท ำให้ผลของกำรด ำเนินกำรให้ควำมช่วยเหลือเปลี่ยนไป

(๔) เรื่องที่คู่กรณีได้ตกลงประนีประนอมยอมควำมกันโดยชอบด้วยกฎหมำย แล้ว เว้นแต่คู่กรณีฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งไม่ปฏิบัติตำมข้อตกลงในกำรประนีประนอมยอมควำมซึ่งสำมำรถด ำเนินกำร ได้ตำมระเบียบนี้ หรือผู้มีส่วนได้เสียขอให้แก้ไขหรือคัดค้ำนกำรประนีประนอมยอมควำมเดิมว่ำไม่ชอบด้วยกฎหมำย โดยมีหลักฐำน หรือข้อเท็จจริงเพิ่มเติมที่ปรำกฏชัดในภำยหลัง และกำรให้ควำมช่วยเหลือจะไม่เป็น กำรกระทบกระเทือนสิทธิหรือประโยชน์ของบุคคลภำยนอกผู้ท ำกำรโดยสุจริต และเสียค่ำตอบแทน

(๕) เรื่องเกี่ยวกับคดีซึ่งผู้ร้องขอรับควำมช่วยเหลือมีทนำยควำม หรือมี หน่วยงำนอื่นให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำยอยู่แล้ว

(๖) เรื่องที่เป็นคดีหรือข้อพิพำทอันเกี่ยวกับกำรด ำเนินกำร หรือกำร ปฏิบัติงำนของหน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐซึ่งปฏิบัติกำรตำมอ ำนำจหน้ำที่ที่กฎหมำยหรือระเบียบ แบบแผนก ำหนดให้เป็นอ ำนำจหน้ำที่ของหน่วยงำนหรือเจ้ำหน้ำที่นั้น ๆ

กรณีตำม (๓) หำกหัวหน้ำพนักงำนอัยกำรเห็นว่ำมีเหตุอันสมควรรับไว้ด ำเนินกำร ให้เสนอไปยังอธิบดีอัยกำร หรืออธิบดีอัยกำรภำค เพื่อพิจำรณำสั่ง

/กรณีตำม (๕) ...

-๓-

กรณีตำม (๕) หรือ (๖) หำกหัวหน้ำพนักงำนอัยกำรเห็นว่ำมีเหตุอันสมควร ให้พิจำรณำสั่งรับไว้ด ำเนินกำรเป็นเรื่อง ๆ ไป

ค ำสั่งไม่รับด ำเนินกำรตำมค ำร้องขอรับควำมช่วยเหลือของหัวหน้ำพนักงำนอัยกำรในข้อนี้ ให้เสนออธิบดีอัยกำรหรืออธิบดีอัยกำรภำค แล้วแต่กรณี เพื่อทรำบโดยเร็ว หำกอธิบดีอัยกำรหรืออธิบดีอัยกำรภำค มีค ำสั่งเป็นอย่ำงอื่น ให้ปฏิบัติไปตำมนั้น

๔. ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชำชนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจถึงสิทธิเสรีภำพและหน้ำที่ โดยกำรเผยแพร่ ควำมรู้ทำงหมำยให้แก่ประชำชน

๕. กำรให้ควำมช่วยเหลือแก่ประชำชนซึ่งเป็นผู้เสียหำยในคดีอำญำ ซึ่งมีสิทธิที่จะเรียกเอำ ค่ำสินไหมทดแทนจำกจ ำเลยตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ ๔๔/๑ เมื่อพนักงำนอัยกำร มีค ำสั่งฟ้องและยื่นฟ้องผู้ต้องหำต่อศำลแล้ว พนักงำนอัยกำรจะมีหนังสือแจ้งผู้เสียหำยให้ทรำบถึงสิทธิที่จะเรียกเอำ ค่ำสินไหมทดแทนดังกล่ำวพร้อมสอบถำมว่ำผู้เสียหำยมีควำมประสงค์จะยื่นค ำร้องเรียกเอำค่ำสินไหมทดแทน ตำมสิทธิหรือไม่ หำกผู้เสียหำยไปพบพนักงำนอัยกำรพร้อมแจ้งควำมประสงค์ดังกล่ำว พนักงำนอัยกำร จะด ำเนินกำรให้ผู้เสียหำยต่อไป

อนึ่ง ในกรณีที่ผู้เสียหำยได้รับกำรชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนดังกล่ำวจนเป็นที่พอใจแล้ว หรือ ได้ใช้สิทธิฟ้องคดีแพ่งเรียกค่ำสินไหมทดแทนดังกล่ำวด้วยตนเองแล้ว ผู้เสียหำยอำจไม่มีสิทธิยื่นค ำร้อง เรียกเอำค่ำสินไหมทดแทนจำกจ ำเลย ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ ๔๔/๑ อีก และ หำกผู้เสียหำยได้ใช้สิทธิยื่นค ำร้องเรียกเอำค่ำสินไหมทดแทนจำกจ ำเลย ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ ควำมอำญำ มำตรำ ๔๔/๑ แล้ว จะไม่มีสิทธิยื่นฟ้องคดีแพ่งเรียกค่ำสินไหมทดแทนในเรื่องเดียวกันอีก เว้นแต่ ผู้เสียหำยได้ขอให้ถอนค ำร้องเพื่อจะไปฟ้องร้องด ำเนินคดีด้วยตนเองตำมกฎหมำยต่อไป

๖. ในกรณีที่ผู้สูงอำยุถูกบุคคลในครอบครัวกระท ำควำมรุนแรงในครอบครัว ตำมพระรำชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ตำมมำตรำ ๓ และ มำตรำ ๔ ผู้สูงอำยุหรือ ผู้ดูแลหรือผู้พบเห็นสำมำรถร้องขอควำมช่วยเหลือต่อพนักงำนอัยกำรเพื่อขอให้พนักงำนอัยกำรยื่นค ำร้องขอ คุ้มครองสวัสดิภำพต่อศำลได้ ทั้งนี้ ตำมพระรำชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 พระรำชบัญญัติศำลเยำวชนและครอบครัวและวิธีพิจำรณำคดีเยำวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553

หมวด 15 กำรพิจำรณำคดีคุ้มครองสวัสดิภำพ มำตรำ 171 - 179 และข้อบังคับของประธำนศำลฎีกำว่ำด้วย

วิธีกำรด ำเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภำพ พ.ศ. 2554

มาตรา ๑๑ (๑๐) การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่ม

**ให้ตามความจ�าเป็นอย่างทั่วถึง
**

หนา ๒๗

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เรื่อง การคมครอง การส่งเสริม และสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุ ตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) (๙) (๑๐) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบข้อ ๒ แห่งประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การก าหนดหน่วยงานผู้มีอ านาจหน้าท่ีรับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านตาง ๆ ตามพระราชบัญญัตผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง การคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน”

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก

(๑) ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน การจัดที่พักอาศัย อาหารและ เครื่องนุ่งห่มให้ผู้สูงอายุตามความจ าเป็นอย่างทั่วถึง ลงวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

(๒) ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน การจัดที่พักอาศัย อาหารและ เครื่องนุ่งห่มให้ผู้สูงอายุตามความจ าเป็นอย่างทั่วถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(๓) ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง การก าหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุ ซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือ ถูกทอดทิ้ง และการให้ค าแนะน า ปรึกษา ด าเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

ข้อ ๔ การด าเนินการช่วยเหลือใด ๆ แก่ผู้สูงอายุ ให้ค านึงถึงความเดือดร้อนและจ าเป็น การมีส่วนร่วม และความสัมพันธ์อันดีระหว่างครอบครัว ชุมชน หรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วย เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถกลับไปอยู่กับครอบครัว ชุมชน หรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วย

หนา ๒๘

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

เพ่ือประโยชน์สูงสุดของผู้สูงอายุเป็นส าคัญ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนด ในประกาศนี้

การด าเนินการตามวรรคหนึ่ง จะส่งเสริม สนับสนุนให้อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ มีส่วนร่วมหรือเป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ดูแล และจัดบริการด้านสวัสดิการสังคม แก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบในการคุ้มครองทางสังคมด้านผู้สูงอายุ ทั้งนี้ กรมกิจการ ผู้สูงอายุอาจสนับสนุนค่าตอบแทนหรือค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการด าเนินงานตามความเหมาะสมก็ได้

เพื่อประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ นอกจากที่ก าหนดไว้ในประกาศน หากเห็นวา่

ผู้สูงอายุเดือดร้อนและจ าเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่น ให้ด าเนินการประสานส่งต่อ การด าเนินงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

ข้อ ๕ ในประกาศนี้

“ประสบความเดือดร้อน” หมายความว่า ถูกทารุณกรรม ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ด้วยกฎหมาย ถูกทอดทิ้ง ประสบปัญหาด้านครอบครัว ด้านที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่ม

“ทารุณกรรม” หมายความว่า การกระท าหรือละเว้นการกระท าด้วยประการใด ๆ จนเป็นเหตุ ให้ผู้สูงอายุเสื่อมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจหรือการกระท าความผิดทางเพศ ต่อผู้สูงอายุ ทั้งนี้ โดยค านึงถึงสภาพจิตหรือพฤติกรรมของผู้สูงอายุ สภาพสังคม สิ่งแวดล้อม หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ไม่ว่าผู้สูงอายุนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม

“แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย” หมายความว่า การหลอกลวง การกล่าวเท็จ การใช้ให้ผู้สูงอายุกระท าหรือประพฤติในลักษณะที่น่าจะเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจหรือขัดต่อ กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี หรือกระท าการใด ๆ โดยมิชอบ เพื่อให้ได้ประโยชน์จากผู้สูงอายุ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้สูงอายุจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม

“ถูกทอดทิ้ง” หมายความว่า ขาดผู้อุปการะเลี้ยงดู ละเลยไม่เอาใจใส่ดูแล หรือไม่ดูแล อันอาจจะเกิดอันตรายต่อกายหรือจิตใจของผู้สูงอายุ

“เครื่องนุ่งห่ม” หมายความว่า เสื้อผ้า ผ้า เครื่องแต่งกายที่ใช้สวมหรือห่มเพื่อปิดบังร่างกาย หรือสร้างความอบอุ่นให้ร่างกาย

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานซึ่งได้รับการแจ้งหรือได้รับค าขอ การช่วยเหลือตามข้อ ๖

หมวด ๑ การแจ้งหรือยื่นค าขอรับการช่วยเหลือ

ข้อ ๖ ผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน บุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือผู้พบเห็นผู้สูงอายุที่ประสบ ความเดือดร้อนให้ด าเนินการ ดังนี้

หนา ๒๙

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

(๑) ในท้องที่กรุงเทพมหานคร ให้แจ้งหรือยื่นค าขอได้ที่กรมกิจการผู้สูงอายุ หรือกรมกิจการ เด็กและเยาวชน หรือกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว หรือกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หรือกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ หรือศูนย์ช่วยเหลือสังคม (๑๓๐๐)

(๒) ในจังหวัดอื่น ให้แจ้งหรือยื่นค าขอได้ที่ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด หรือศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ที่อยู่ในจังหวัดนั้น

ทั้งนี้ กรณีผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน อาจแจ้งต่อหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพ่ือประสานงานให้หน่วยงานตาม (๑) หรือ (๒) ให้การช่วยเหลือต่อไป

ข้อ ๗ เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งหรือรับค าขอแล้ว ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริง ตลอดจนรวบรวม เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือ โดยวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาของ ผู้สูงอายุแต่ละรายโดยเร็ว ทั้งนี้ ให้นักสังคมสงเคราะห์หรือผู้วินิจฉัยในการช่วยเหลือ สอบข้อเท็จจริง วิเคราะห์ พิจารณา วินิจฉัยปัญหา วางแผนให้ความช่วยเหลือ และติดตามประเมินผล

หมวด ๒ การช่วยเหลือผู้สูงอายุถูกทารุณกรรม

ข้อ ๘ ให้เจ้าหน้าที่ด าเนินการช่วยเหลือ ด้วยวิธีการ ดังนี้

(ก) น าผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์และขอค าแนะน าปรึกษาจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์

(ข) สอบถามข้อเท็จจริง พฤติการณ์ของการถูกทารุณกรรม

(ค) กรณีการทารุณกรรมเกิดขึ้นจากการกระท าของบุคคลภายนอกให้แจ้งความต่อพนักงานสอบสวน เพื่อด าเนินคดีต่อผู้กระท าความผิด

(ง) กรณีการทารุณกรรมเกิดจากการกระท าของบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอาศัย อยู่ด้วย ให้นักสังคมสงเคราะห์หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุมอบหมายให้ค าแนะน าแก่ครอบครัว หรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอยู่ด้วยเพื่อท าความเข้าใจให้สามารถดูแลผู้สูงอายุมิให้ถูกกระท าทารุณกรรมอีก แต่หากผู้สูงอายุประสงค์ด าเนินคดีให้ด าเนินการตามข้อ (ค) โดยอนุโลม

(จ) ให้การฟื้นฟูสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ ให้กลับไปสู่สภาวะปกติ และสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับครอบครัวหรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วยในกรณีที่ไม่สามารถฟื้นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับครอบครัวหรือบุคคลที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ด้วยได้ ให้ด าเนินการน าส่ง ผู้สูงอายุเข้ารับการดูแลในหน่วยงานที่กรมกิจการผู้สูงอายุก าหนด หรือหน่วยงานเอกชนที่ยินยอม รับไว้ดูแล หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในกรณีที่มีกฎหมายเฉพาะเพื่อคุ้มครองดูแลต่อไป โดยความยินยอม ของผู้สูงอายุ

หนา ๓๐

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ในกรณีที่เห็นสมควรเพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่อาจจัดให้ผู้สูงอายุพักอาศัย ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือสถานที่อื่นซึ่งมีความปลอดภัย เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ โดยค านึงถึงความยินยอมของผู้สูงอายุเป็นส าคัญ เว้นแต่ผู้สูงอ ายุไม่อยู่ในวิสัย หรือมีโอกาสที่จะให้ความยินยอมได้ด้วยตนเอง

หมวด ๓ การช่วยเหลือผู้สูงอายุถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบดว้ ยกฎหมาย

ข้อ ๙ ให้เจ้าหน้าที่ด าเนินการช่วยเหลือ ด้วยวิธีการ ดังนี้

(ก) สอบข้อเท็จจริงเบื้องตน กรณีมีความจ าเป็นให้น าผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์

และขอค าแนะน าปรึกษาจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์

ท้ังน การสอบข้อเท็จจริงให้รวมการสอบข้อเท็จจริงถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซึ่งเป็นตัวการ

หรือเป็นนายหน้าในการน าผู้สูงอายุมาแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย

ในกรณีที่ผู้สูงอายุถูกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ อันเป็นความผิด ทางอาญาให้แจ้งความต่อพนักงานสอบสวนเพื่อด าเนินคดีต่อผู้กระท าความผิด

(ข) ให้การฟื้นฟูสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ หรือฝึกอาชีพให้ผู้สูงอายุ ตามความต้องการและ ความเหมาะสม

(ค) กรณีผู้สูงอายุประสงค์จะกลับไปอยู่กับครอบครัว หรือบุคคลซึ่งผู้สูงอายุ มีความประสงค์ จะไปอยู่ด้วยก็ให้ด าเนินการเตรียมความพร้อมของครอบครัวหรือบุคคลนั้น

ในกรณีที่เห็นสมควรเพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่อาจจัดให้ผู้สูงอายุพักอาศัย ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือสถานที่อื่นซึ่งมีความปลอดภัย เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ โดยค านึงถึงความยินยอมของผู้สูงอายุเป็นส าคัญ เว้นแต่ผู้สูงอายุไม่อยู่ในวิสัย หรือมีโอกาสที่จะให้ความยินยอมได้ด้วยตนเอง

หมวด ๔ การช่วยเหลือผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง

ข้อ ๑๐ ให้เจ้าหน้าที่ด าเนินการช่วยเหลือ ด้วยวิธีการ ดังนี้

(ก) สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น น าผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์และขอค าแนะน า ปรึกษาจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์

ทั้งนี้ การสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้ข้อมูลประวัติบุคคล ครอบครัว บุคคลที่เกี่ยวข้อง สภาพความเป็นอยู่ สภาพปัญหา ความต้องการ เพื่อให้การช่วยเหลือตามควรแก่กรณี

หนา ๓๑

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

(ข) ให้น าส่งผู้สูงอายุเข้ารับการดูแลในสถานที่ที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ก าหนด หรือหน่วยงานเอกชน หรือชุมชน ที่ยินยอมรับไว้ดูแล โดยความยินยอมของผู้สูงอายุ หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในกรณีที่มีกฎหมายเฉพาะเพื่อคุ้มครองดูแลต่อไป

(ค) ให้การฟื้นฟูสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ หรือฝึกอาชีพให้ผู้สูงอายุ ตามความต้องการและ ความเหมาะสม

(ง) กรณีผู้สูงอายุประสงค์จะกลับไปอยู่กับครอบครัว หรือบุคคลซึ่งผู้สูงอายุ มีความประสงค์ จะไปอยู่ด้วยก็ให้ด าเนินการเตรียมความพร้อมของครอบครัวหรือบุคคลนั้น

ในกรณีที่เห็นสมควรเพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่อาจจัดให้ผู้สูงอายุพักอาศัย ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือสถานที่อื่นซึ่งมีความปลอดภัย เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ โดยค านึงถึงความยินยอมของผู้สูงอายุเป็นส าคัญ เว้นแต่ผู้สูงอายุไม่อยู่ในวิสัย หรือมีโอกาสที่จะให้ความยินยอมได้ด้วยตนเอง

หมวด ๕ การช่วยเหลือผู้สูงอายุประสบปัญหาด้านครอบครวั

ด้านที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งหม

ข้อ ๑๑ ให้เจ้าหน้าที่ด าเนินการช่วยเหลือ ด้วยวิธีการ ดังนี้

(ก) สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น ในกรณีมีความจ าเป็นให้น าผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจรักษา จากแพทย์และขอค าแนะน าปรึกษาจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์

ทั้งนี้ การสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้ข้อมูลประวัติบุคคล ครอบครัว บุคคลที่เกี่ยวข้อง สภาพความเป็นอยู่ สภาพปัญหา ความต้องการ เพื่อให้การช่วยเหลือตามควรแก่กรณี

(ข) ให้ค าแนะน า ปรึกษา หรือการด าเนินการอื่นใด รวมทั้งปรึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ อันควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย หรือประสานเพื่อให้ได้รับค าปรึกษา ปัญหาทางครอบครัวและปัญหาชีวิต บริการให้ค าปรึกษาทางโทรศัพท์ หรือบริการอื่นของหน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน

(ค) การช่วยเหลือในด้านที่พักอาศัย ให้ด าเนินการตามข้อ ๑๐ (ข) โดยอนุโลม

(ง) การช่วยเหลือเป็นอาหาร และหรือเครื่องนุ่งห่ม ให้เพียงพอและเหมาะสม กรณีจะช่วยเหลือเป็นค่าอาหาร และหรือค่าเครื่องนุ่งห่ม ให้ด าเนินการตามข้อ ๑๒ โดยอนุโลม

ในกรณีที่เห็นสมควรเพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่อาจจัดให้ผู้สูงอายุพักอาศัย ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือสถานที่อื่นซึ่งมีความปลอดภัย เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ โดยค านึงถึงความยินยอมของผู้สูงอายุเป็นส าคัญ เว้นแต่ผู้สูงอายุไม่อยู่ในวิสัย หรือมีโอกาสที่จะให้ความยินยอมได้ด้วยตนเอง

หนา ๓๒

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

หมวด ๖ การช่วยเหลือค่าใช้จ่ายตามความจ าเปนและเหมาะสม

ข้อ ๑๒ ในกรณีเจ้าหน้าที่ได้ด าเนินการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน แล้วแต่กรณี ตามท่ีก าหนดในหมวดข้างต้นตามประกาศนี้ และเห็นว่าผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อนมีสิทธิได้รับ การช่วยเหลือค่าใช้จ่ายเป็นค่าพาหนะเดินทาง ค่าอาหาร ค่าเคร่ืองนุ่งห่ม หรือค่ารักษาพยาบาลเบื้องต้น ให้พิจารณาช่วยเหลือตามความจ าเป็นและเหมาะสมได้ไม่เกินวงเงินคร้ังละสามพันบาท ท้ังนี้ ไม่เกินสามครั้งต่อคนต่อปี โดยถือตามปีงบประมาณ

ข้อ ๑๓ การพิจารณาให้ความช่วยเหลือเป็นค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๒ ให้เจ้าหน้าที่จัดให้ผู้สูงอายุ ยื่นค าขอรับการช่วยเหลือ โดยเจ้าหน้าที่มีอ านาจในการขอหลักฐาน ดังนี้

(๑) กรณีผู้สูงอายุแจ้งหรือขอรับความช่วยเหลือด้วยตนเองให้น าบัตรประจ าตัวประชาชน หรือบัตรประจ าตัวอื่นที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐ ที่มีรูปถ่ายและเลขประจ าตัวประชาชน หรือส าเนา ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (เล่มสีน้ าเงิน) มาแสดง

(๒) กรณีบุคคลอื่นนอกจากผู้สูงอายุมายื่นค าขอแทนผู้สูงอายุจะต้องน าบัตรประจ าตัว ประชาชนหรือบัตรประจ าตัวอื่นที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐที่มีรูปถ่าย และเลขประจ าตัวประชาชน มาแสดง

(๓) กรณีผู้สูงอายุไม่มีหลักฐานตาม (๑) และ (๒) ให้มีหนังสือรับรองว่าผู้สูงอายุมีถิ่นที่อยู่ ในพ้ืนที่นั้นจริงจากนายอ าเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิ่น หรือพนักงานปกครอง หรื อก านัน หรือผู้ใหญ่บ้าน หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนต าบล หรือผู้อ านวยการเขต หรือนายกเมืองพัทยา หรือประธานชุมชน ซึ่งทางราชการให้การรับรองหรือแต่งตั้งแล้วแต่กรณี

ข้อ ๑๔ การพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินในการช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้

(๑) ในกรุงเทพมหานคร ให้อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณา อนุมัติการช่วยเหลือ

(๒) ในจังหวัดอื่น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ การช่วยเหลือ

หมวด ๗ การรายงานผล

ข้อ ๑๕ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ บันทึกข้อมูลการให้ความช่วยเหลือทุกครั้งในระบบฐานข้อมูลของกรมกิจการ ผู้สูงอายุ

หนา ๓๓

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ข้อ 1๖ ให้ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ รายงานผลการด าเนินงานให้ความช่วยเหลือ แบบประเมินผลความพึงพอใจ ของผู้สูงอายุ ให้กรมกิจการผู้สูงอายุทราบทุกสิ้นเดือน และให้สรุปผลการด าเนินงานเมื่อส้ิน ปีงบประมาณด้วย

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๗ ในกรณีผู้สูงอายุที่ประสบความเดือดร้อน บุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือผู้พบเห็นผู้สูงอายุ ที่ประสบความเดือดร้อนได้แจ้งหรือย่ืนขอรับการช่วยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่นคงของมนุษย์ เร่ือง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ผู้สูงอายุตามความจ าเป็นอย่างทั่วถึง พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ และประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง การก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุ ซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง และการให้ค าแนะน า ปรึกษา ด าเนินการอื่น ที่เกี่ยวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว พ.ศ. ๒๕๔๘ ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับให้ถือว่าได้แจ้ง หรือยื่นค าขอรับการช่วยเหลือตามประกาศนี้

ข้อ ๑๘ ในกรณีมีปัญหาข้อขัดแย้งในการปฏิบัติตามประกาศนี้ให้ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด

ประกาศ ณ วนที่ 25 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖3 จุติ ไกรฤกษ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

หน้า ๑

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๘๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘

ระเบียบกรมกิจการผู ูงอาย

ว่าด้วยการให้บริการผูส้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงไดก้ ําหนดระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรมกิจการผู้สูงอายุ ว่าด้วยการให้บริการผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๘”

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใหใช ข้อ ๓ ให้ยกเลิก

ังคับตงั แต่วันถดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

(๑) ระเบียบกรมพฒนาสังคมและสวัสดิการว่าดวยการให้บริการผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๐

(๒) ระเบียบกรมพฒนาสังคมและสวัสดิการว่าด้วยการใหบริการผู้สูงอายุ (ฉบบที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๔ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับและคําส่ังอ่ืน ๆ ในส่วนที่กําหนดไว้แล้วในระเบียบนี้หรือขัด

หรือแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๕ ในระเบียบนี้

“ผูใช้บริการ” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตามระเบียบนี้ และได้รับอนุญาตให้เข้าใช้บริการ ในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุที่เรียกชื่อ เป็นอย่างอื่น

“ศูนย์” หมายความว่า ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ หรือศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการ

สงคมผ

ูงอายุที่เรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืน

“ผู้อํานวยการศูนย์” หมายความว่า ผู้อํานวยการศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ

หรือผ

ํานวยการศูนย์พัฒนาการจัดสวสดิการสงคมผู

ูงอายุที่เรียกช่ือเป็นอย่างอื่น

ข้อ ๖ ให้อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจ กําหนดแนวทางปฏิบัติ เพ่ือให้เป็นไปตามระเบียบนี้

หมวด ๑ คุณสมบัติของผูใช้บริการ

ข้อ ๗ ผู้สูงอายุที่มีความประสงค์เขาใชบริการในศูนย์ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (๑) มีอายุเกิน ๖๐ ปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย

หน้า ๒

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๘๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘

(๒) ไม่เป็นผู้ต้องหาว่ากระทําผิดอาญา และอยู่ระหว่างการสอบสวนของพนักงานสอบสวน หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล

(๓) ไม่เป็นโรคติดต่อ ตามพระราชบญญ (๔) มีความสมัครใจ

ิโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓

(๕) สามารถช่วยเหลือตนเองไดในกิจวตรประจําวัน

(๖) ไม่มีอาการทางจิตที่รุนแรง หรือมีพฤติกรรมด้านลบท่ีจะส่งผลกระทบต่อผู้อื่น (๗) ไม่ติดสารเสพติด หรือติดสุรา

(๘) กรณีคนเร่ร่อน ถูกทอดทิ้ง หรือไร้ที่พึ่ง ต้องผ่านกระบวนการตามพระราชบัญญัต คุมครองคนไร้ท่ีพ่ึง พ.ศ. ๒๕๕๗ ก่อน เช่น การเยี่ยมครอบครัว/ชุมชน การหาอาชีพที่เหมาะสม เป็นต้น

ข้อ ๘ ผู้สูงอายุที่มีความประสงค์เข้าอยู่ในศูนย์ ต้องมีคุณสมบัติตามข้อ ๗ และต้องเป็น ผปู ระสบปัญหาความเดือดร้อนอย่างใดอย่างหนึ่ง ดงน้ี

(๑) ฐานะยากจน (๒) ไม่มีที่อยู่อาศัย

(๓) ขาดผู้อุปการะ หรือผู้ให้ความช่วยเหลือดูแล

หมวด ๒ ประเภทของการให้บริการ

ข้อ ๙ ศูนย์ใหบริการ ๒ ลักษณะ ดังน

(๑) ศูนย์บริการผ

ูงอายุ สําหรับให้บริการผ

ูงอายุที่มาขอใช้บริการที่ศูนย์ ได

ัดไว้ในเวลากลางวัน

(๒) บา้ นพักผู้สูงอายุมี ๓ ประเภท ดังน้ี

ก. ประเภทสามญั ได้แก่ การใหบริการดูแลผูส้ ูงอายุ โดยไม่เสียค่าบริการ

ข. ประเภทหอพัก ได้แก่ การให้บริการดูแลผู้สูงอายุ โดยเสียค่าบริการให้ศูนย์

ตามอัตราที่กรมกิจการผ ูงอายุกําหนด

ค. ประเภทปลูกบ้านอยู่เอง ได้แก่ การให้บริการผู้สูงอายุ โดยอนุญาตให้ผู้สูงอายุ

ปลูกบ้านพักอยู่อาศัยในบริเวณศูนย์ ตามหล

เกณฑ์ที่กรมกิจการผ

หมวด ๓

ูงอายุกําหนด

การเข้าใช้บริการในศูนย์

ข้อ ๑๐ การขอเข้าใชบริการในศูนย์ ให้ผู้สูงอายุหรือผูเก่ียวข้องยื่นสม รขอใช้บรการิ ดังน

(๑) ในกรุงเทพมหานคร ให้ย่ืนเรื่องที่กรมกิจการผู ูงอายุ หรือศูนย์ที่ตังอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร

(๒) ในส่วนภูมิภาค ให้ยื่นเรื่องที่สําน งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จงหวัดหรือศูนย

ให้ผู้อํานวยการศูนย์มีอํานาจในการอนุญาตให้ผู้สูงอายุเข้าใช้บริการในศูนย์

หน้า ๓

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๘๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘

หมวด ๔

ขอปฏิบตั ิของผู้ใช้บริการ

ข้อ ๑๑ ผใู ช้บริการจะตองปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(๑) ปฏิบัติตามคําส่งและระเบียบที่กําหนดขึ้นในศูนย์ (๒) แต่งกายให้สุภาพเรียบรอย

(๓) รักษาความสามัคคีในหมู่คณะ ไม่ทะเลาะวิวาทหรือชักชวน ยุยง ส่งเสริม ให้ผู้ใดกระทําผิด หรือฝ่าฝืนต่อระเบียบของศูนย์

(๔) ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม

(๕) ช่วยดูแลรักษาทรัพย์สินของทางราชการให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยและใช้โดยประหยัด (๖) เข้าร่วมกิจกรรมตามท่ีศูนย์จัดให้ตามความเหมาะสม

ข้อ ๑๒ ผู้ใช้บริการจะต้องไม่ประพฤติปฏิบ ิอยางใดอยางหน่่่ ึง ดังต่อไปน

(๑) มีพฤติกรรมฉันท์ชู้สาว หรือมีความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างผใู ช้บริการ (๒) ทะเลาะวิวาท หรือทําร้ายร่างกายผูอ้ ื่น

(๓) นําบุคคลภายนอกเข้ามาค้างแรมในศูนย์ และห้ามผู้ใช้บริการไปค้างแรมท่ีอ่ืน เว้นแต่จะได้รับ

อนุญาตจากผ ํานวยศนู ย์หรอเจื ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

(๔) กระทําการใด ๆ ซ่ึงก่อความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้อื่น (๕) มีสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ในครอบครอง

ก. เฮโรอีน ฝ่ิน กัญชา ทินเนอร์ ยาอันตราย หรือสิ่งเสพติดต่าง ๆ ข. สุรา หรือเคร่ืองดองของเมา

ค. อุปกรณ์การพนนั

ง. อาวุธ หรือของมีคมทุกชนิด หรือสง่ ที่ใช้เป็นอาวุธได้ จ. วัตถุระเบิด หรือเชื้อเพลิง

ฉ. สิ่งของอ่ืน ๆ ซ่ึงผอู้ ํานวยการศูนย์จะกําหนดและประกาศเพิ่มขึ้น (๖) เล่นการพนันทุกชนิด

(๗) ลักทรัพย์ของผ ื่น

(๘) สูบบุหรี่ หรือจุดธูปเทียนบูชาพระในเรือนนอน (๙) เสพสุราหรือของมึนเมาทุกชนิดในบริเวณศูนย์ (๑๐) นําสัตว์ทุกชนิดมาเลี้ยงในบริเวณศูนย์

(๑๑) นําอาหารไปรับประทานนอกห้องอาหาร ยกเว (๑๒) ประกอบอาหารในเรือนนอน

ผู้ป่วยที่ได้รับอนุญาตแล้ว

(๑๓) นําทรัพย์สินของทางราชการมาใช้ประโยชน์ส่วนตัว

หน้า ๔

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๘๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘

(๑๔) ทําลายทรัพย์สินของทางราชการ

(๑๕) กระทําการใด ๆ อันเป็นการรบกวนความสงบสุขของผู้อื่นหรือราษฎรที่อาศัยอยู่ ในบริเวณใกล้เคียง

หมวด ๕ มาตรการสําหรับผู้ใชบริการไม่ปฏิบัติตามระเบียบ

ข้อ ๑๓ เมื่อผู้สูงอายุเข้าใช้บริการในศูนย์ ให้ผู้อํานวยการศูนย์แจ้งข้อห้ามและข้อปฏิบัติ ตามระเบียบนี้ และคําสั่งหรือระเบียบที่ศูนย์กําหนดขึ้นให้ผู้สูงอายุทราบ โดยมีหลักฐานเป็นหนังสือด้วย ว่าผู้ใช้บริการมีความเต็มใจปฏิบัติตามระเบียบและคําสั่งที่รับทราบทุกประการ ผู้ใช้บริการที่ฝ่าฝืนระเบียบ

หรือคําสั่งที่ได้รับแจ้งไว้ ให้ผ ํานวยการศูนย์ดําเนินการ ดังน

(๑) ความผิดครั้งที่ ๑ ให้ว่ากล่าวตักเตือน

(๒) ความผิดครังที่ ๒ ทําทณฑ์บนไว้เป็นหนังสือ (๓) ความผิดครั้งที่ ๓ พิจารณาสั่งให้ออกจากศูนย์

ข ๑๔ ใหเจ้าหน้าที่ผ บเห็นผู้ใชบริการกระทําความผิด เป็นผู้รายงานตามสายการบังคับบัญชา

เพื่อสืบสวนหรือสอบสวนข้อเท็จจริง แล้วพิจารณาดําเนินการตามความเหมาะสม

ข้อ ๑๕ ผู้ใช้บริการรายใดจงใจกระทําให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของทางราชการ หรือประทุษร้ายต่อร่างกายของเจ้าหน้าที่หรือผู้ใช้บริการด้วยกันหรือกระทําความผิดทางอาญา ให้ผู้อํานวยการ ศูนย์ร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดําเนินคดีตามกฎหมายแล้วรายงานให้ กรมกิจการ ผู้สูงอายุทราบทันที

หมวด ๖

การพนสภาพของผู้ใช้บริการ

ข้อ ๑๖ ผู้ใชบริการจะพ้นสภาพการเขาอยู่ในศูนย์ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ลาออก

(๒) ออกจากศูนย์เกินกว่าวันลาที่ได้รับอนุญาต หรือออกจากศูนย์โดยไม่ได้รับอนุญาต ติดต่อกนเกินกว่า ๓๐ วัน

(๓) ถึงแก่กรรม

(๔) ส่งตัวไปยังหน่วยงานอื่น

(๕) ครบกําหนดการเข้าใช้บริการ

(๖) กระทําผิดทางอาญา และส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องขอรับตัวไปควบคุมเพื่อดําเนินการ ตามกฎหมาย

หน้า ๕

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๘๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘

ข้อ ๑๗ เมื่อผู้ใช้บริการพ้นสภาพตามข้อ ๑๖ ให้ผู้อํานวยการศูนย์จําหน่ายออกจากทะเบียน

แล้วรายงานให้กรมกิจการผ

ูงอายุทราบ

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๘ ให้ถือว่าผู้รับบริการตามระเบียบกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการว่าด้วยการให้บริการ ผสู้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๐ และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม อยู่ก่อนวนท่ีระเบียบนใี ช้บังคบเป็นผู้ใช้บริการตามระเบียบนี้

ในกรณีผขู อรับบริการรายใดได้ยื่นสมัครไว้ก่อนวนที่ระเบียบนีใช้บังคบั ให้ถือว่าเป็นผู้ยื่นขอใช้บริการ ตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ ว

ที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ อนุสันต์ เทียนทอง

อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ

มาตรา ๑๑ (๑๑) การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือน อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

หนา ๕

เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดวยหลักเกณฑการจายเงินเบียยังชีพผูส ูงอายุขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒

โดยที่เปนการสมควรกําหนดหลักเกณฑการจายเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุขององคกรปกครอง สวนทอ งถิ่น เพื่อใหสอดคลองกับที่ประชุมคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ คร้ังที่ ๔/๒๕๕๒

วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ตามพระราชบญญ ิผูสงอู ายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แหงพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๐ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยหลักเกณฑ การจายเงิน เบียยงชีพผูสูงอายุขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ ๓ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําส่ ใหใชระเบียบนี้แทน

ขอ ๔ ในระเบียบนี้

ประกาศ หรือมติอื่นใดซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบน

“ผูส ูงอายุ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

“องคกรปกครองสวนท งถ่ิน” หมายความวา เทศบาล องคการบริหารสวนตาบลํ เมืองพัทยา

“ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล นายก เมืองพัทยา

ขอ ๕ ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรกษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัย ปญหา กําหนดหลกเกณฑ และวิธีปฏิบตั ิ เพ่ือใหเปนไปตามระเบียบนี้

ในกรณีไมสามารถปฏิบ กอนการปฏิบัติ

ิตามระเบียบนีได ใหขอทําความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทย

หนา ๖

เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒

ปลัดกระทรวงมหาดไทยอาจมอบอํานาจตามวรรคสอง ใหอธิบดีกรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น หรือผูวาราชการจังหวัดก็ได

หมวด ๑ คุณสมบัติของผูม ีสิทธิจะไดรับเงินเบ

ยังชีพ

ขอ ๖ ผูมีสิทธิจะไดรับเงินเบ ตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทย

ยังชีพผูสูงอายุ ต

งเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ

(๒) มีภูมิลําเนาอยูในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นตามทะเบียนบาน

(๓) มีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป ซึ่งไดล งทะเบียน และย่ืนคําขอรบเบี้ยยังชีพผู ตอองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ูงอายุ

หรือองค

(๔) ไมเปนผูไดรับสวัสดิการหรือสิทธิประโยชนอื่นใดจากหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รปกครองสวนทองถิ่น ไดแก ผูรับเงินบํานาญ เบี้ยหวัด บํานาญพิเศษ หรือเงินอื่นใด

ในลักษณะเดียวกัน ผูสูงอายุที่อยูในสถานสงเคราะหของรัฐหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูไดรับเงินเดือน คาตอบแทน รายไดประจํา หรือผลประโยชนตอบแทนอยางอื่นท่ีรัฐหรือองคกร ปกครองสวนทองถิ่นจัดใหเปนประจํา ยกเวนผูพิการและผูปวยเอดสตามระเบียบกระทรวง

มหาดไทยวาดวยการจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพขององคก

หมวด ๒

รปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘

ขั้นตอนการยื่นคําขอ

ขอ ๗ ภายในเดือนพฤศจิกายนของทุกปใหผูที่จะมีอายุครบหกสิบปบริบูรณขึ้นไป ในปงบประมาณถัดไป ลงทะเบียนและยื่นคําขอรับเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุดวยตนเองตอองคกร ปกครองสวนทองถิ่นที่ตนมีภูมิลําเนา ณ สํานักงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือสถานที่ ท่ีองคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนด โดยมีหลักฐานดังนี้

หนา ๗

เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒

(๑) บตรประจําตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ออกโดยหนวยงานของรัฐที่มีรูปถายพร

(๒) ทะเบียนบานพรอมสําเนา

มสําเนา

(๓) สมุดบัญชีเงินฝากธนาคารพรอมสําเนา สําหรับกรณีที่ผูขอรับเงินเบ้ียยังชีพผูสูงอายุ

ประสงคขอรับเงินเบียยังชีพผ ูงอายุผานธนาคาร

ในกรณีที่มีความจําเปนผูสูงอายุที่ไมสามารถมาลงทะเบียนดวยตนเองไดตามวรรคหน่ึง

อาจมอบอํานาจเปนลายลักษณอ

ษรใหผูอ่ืนเปนผูย่ืนคําขอรับเงินเบ

ยงชีพผ

ูงอายุแทนก็ได

ขอ ๗/๑ ในกรณีผูสูงอายุท่ีไดรับเงินเบ้ียยังชีพผูสูงอายุจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในปงบประมาณที่ผานมา ใหถือวาเปนผูไดลงทะเบียนและย่ืนคําขอรับเบี้ยยังชีพผูสูงอายุตาม ระเบียบนีแลว

ข ๘ ในกรณีผ ูงอายุที่มีสิทธิไดรับเบี้ยยังชีพผูสูงอายุจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น

หน่ึงยายภูมิลําเนาไปอยูองคกรปกครองสวนทอ งถ่ินอื่น ใหอ งคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เคยจาย เบี้ยยังชีพผูสูงอายุเดิมยังคงจายเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุจนกวาจะส้ินสุดปงบประมาณนั้น หากมีความ ประสงคจะรับเบี้ยยังชีพกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินแหงใหมตองไปลงทะเบียนเพื่อขอรับเงิน

เบียยังชีพผูสูงอายุท่ีองคกรปกครองสวนท

งถิ่นแหงใหมกอนสิ้นปงบประมาณ

หมวด ๓

การตรวจสอบและจัดทําทะเบียนประวัติผ ีสทธิ

ขอ ๙ ภายในเดือนกุมภาพนธของทุกป ใหจังหวัดแจงรายช่ือผูสูงอายุที่มีสิทธิไดรับเงิน สงเคราะหต ามแบบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดไปยังกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เพื่อใช เปนขอมูลในการขอต้งั งบประมาณในปงบประมาณถดไป

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งของเมืองพัทยา ใหเมืองพัทยากําหนด หลักเกณฑ วิธีการ และขั้นตอนในการดําเนินการตามระเบียบ กฎหมายท่ีเกี่ยวของ

ขอ ๑๐ ภายในเดือนตุลาคมของทุกป ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินดําเนินการตรวจสอบ

สถานะของผ

ับเบี้ยยังชีพผ

ูงอายุและใหผูรบเบียยังชีพผูสูงอายุแสดงการดํารงชีวิตอยูตอองคกร

ปกครองสวนทองถ่ินที่ตนรับเบี้ยยังชีพผูส ูงอายุ โดยจะแสดงดวยตนเองหรือใหมีการรับรองของ นายทะเบียนอําเภอหรือนายทะเบียนทองถิ่นก็ได

หนา ๘

เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒

ในกรณีที่ผูมีสิทธิไดรับเบี้ยยังชีพผูสูงอายุไมไดดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นตรวจสอบการดํารงชีวิตอยูของผูสูงอายุดงกลาว จากฐานขอมูลทะเบียนราษฎร หรือหลักฐาน อ่ืนท่ีมีสามารถตรวจสอบได

หมวด ๔ งบประมาณและวิธีการจายเงินเบี้ยยงชีพผูสูงอาย

ขอ ๑๑ การต้งงบประมาณและวิธีการจายเงินเบียยังชีพผูส ูงอายุใหดําเนินการตามกฎหมาย วาดวยการนั้น

ขอ ๑๒ การจายเงินเบ้ียยังชีพผ คณะรัฐมนตรี

ูงอายุให

ายในอัตราเดือนละหารอยบาท หรือตามมติ

ขอ ๑๓ การจายเงินเบี้ยยังชีพผ ูงอายุใหแกผู ม ีสทธิ ิตามระเบียบนี้ ใหอ งคกรปกครอง

สวนทองถิ่นจายเปนเงินสด หรือโอนเขาบัญชีเงินฝากธนาคารในนามผูมีสิทธิไดรับเบ้ียยังชีพ ผูสูงอายุ หรือในนามบุคคลท่ีรับมอบอํานาจเปนหนังสือจากผูมีสิทธิไดรับเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เปนรายเดือนภายในวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน

ในการจายเงินใหแกผูรับมอบอํานาจตองตรวจสอบจนแนใจวาเปนบุคคลเดียวกับผูท่ีไดรับ

มอบอํานาจและตองไดรับการยืนยันวาผูมีสิทธิได ับเงนเบิ ี้ยยังชีพผูสงอู ายุยงมีชีวตอิ ยู

การโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารใหเปนไปตามที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินกําหนด หรือตามที่ตกลงกนเปนอยางอื่น

หมวด ๕ การสิ้นสุดการไดรบเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอาย

ขอ ๑๔ สิทธิของผไู ดรับเงินเบี้ยยงชีพผ

(๑) ตาย

(๒) ขาดคุณสมบัติตามขอ ๖

ูงอายุตามระเบียบนี้สิ้นสุดลงในกรณีดังตอไปน

(๓) แจงสละสิทธิการขอรับเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุเปนหนังสือตอองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ตนมีสิทธิไดรบเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ

หนา ๙

เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๒

กรณีสิทธิไดรับเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุดังกลาวสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง ใหผูบริหารองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นน ๆ ส่งระงับการจายเงนเบีิ ยยังชีพผูสงอู ายุสาหํ รบบั ุคคลดงกลั าวทันที

ขอ ๑๕ กรณีผูรับเงินเบียยังชีพผู ูงอายุตาย ใหน ายทะเบียนอําเภอ หรอนื ายทะเบียน

ทองถิ่นแจงการตายตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ผูตายมีชื่อในทะเบียนภายในเจ็ดวันนับแต วันที่นายทะเบียนอําเภอ หรือนายทะเบียนทองถ่ินไดรับแจงการตายและใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นที่ผูตายมีชื่อในทะเบียนนั้น แจงแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จายเงินเบ้ีย ยังชีพผูสูงอายุตามขอ ๘ ตอไป

ขอ ๑๖ ภายใตบังคับขอ ๘ กรณีผ ับเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุขาดคุณสมบัติตามขอ ๑๔ (๒)

ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินปดประกาศไว ดยเปดเผย ณ สานํ ักงานขององคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน หรือสถานท่ีท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินกําหนดเปนเวลาไมนอยกวาสิบหาวัน หากไมมีผูคัดคานใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินเสนอรายชื่อผูขาดคุณสมบัติตอผูบริหาร

ท งถ่ินเพ่ือส่ังถอนรายช่ือ และระงบการจายเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุทันที ในกรณีที่มีการคัดคานใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตรวจสอบขอเท็จจริงใหชัดเจน

แลวรายงานผูบริหารทอ งถิ่นเพื่อพิจารณาดําเนินการตามสมควรแกกรณีตอไป

บทเฉพาะกาล

ข ๑๗ ระเบียบนี้มิใหกระทบตอสิทธิของผูสูงอายุตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วาดวยการจายเงินสงเคราะหเพื่อการยังชีพขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และระเบียบคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติวาดวยหลักเกณฑการจายเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่มีอยูกอนหรือในวันที่ระเบียบน้ีใชบังคับ และใหถือวาผูสูงอายุดังกลาวเปนผูได

ลงทะเบียนและยื่นคําขอรบเงินเบี้ยยังชีพผูสูงอายุตามระเบียบน ลว

ประกาศ ณ วนท่ี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ บุญจง วงศไตรรัตน

รฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

หน้า ๑

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๒๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ กันยายน ๒๕๖๐

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าดวยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบบที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้สอดคล้องกับมติของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ

ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ในการประชุมครั้งท ๑/๒๕๕๙ เม่ือวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๙

ที่เห็นชอบให้ขยายเวลาการเปิดรับลงทะเบียนผู้สูงอายุเป็นวันที่ ๑ มกราคม ถึงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ของทุกปี

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบญญัติระเบียบบริหารราชการ เมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดังน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ

ผู ูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให ีผลบงคั ับใช้ตังแต่วันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์ การจ่ายเงินเบียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใชความดังต่อไปนี้แทน

“ข ๗ ให้ผู้สูงอายุที่จะมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปในปีงบประมาณถัดไปลงทะเบียน

และย่ืนคําขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุด้วยตนเองต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตนมีภูมิลําเนา ณ สํานักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือสถานที่ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี โดยมีหลักฐาน ดงต่อไปนี้

(๑) บัตรประจําตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ออกโดยหน่วยงานของรฐที่มีรูปถ่ายพร้อมสําเนา

(๒) ทะเบียนบ้านพร้อมสําเนา

(๓) สมุดบัญชีเงินฝากธนาคารพร้อมสําเนา สําหรับกรณีที่ผู้ขอรับเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ ประสงค์ขอรับเงินเบียยังชีพผู้สูงอายุผ่านธนาคาร

ในกรณีที่มีความจําเป็นผู้สูงอายุท่ีไม่สามารถมาลงทะเบียนดวยตนเองได้ตามวรรคหน่ึง อาจมอบอํานาจ

เป็นลายลักษณ์อักษรให้ผ

่ืนเป็นผู้ยื่นคําขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู

ูงอายุแทนก็ได้”

ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงิน

เบียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท งถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความดังต่อไปนี้แทน

หน้า ๒

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๒๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ กนยายน ๒๕๖๐

“ขอ้ ๘ ผู้สูงอายุผู้ใดที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ที่ตนมีภูมิลําเนาอย ต่อมาผู้สูงอายุนั้นได้ย้ายภูมิลําเนาไปอยู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ให้ผู้สูงอายุนั้น

ไปลงทะเบียนและยื่นคําขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุด้วยตนเองต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งใหม่ นับตั้งแต่วันท่ีย้ายแต่ไม่เกินเดือนพฤศจิกายนของปีน้ัน ๆ ทั้งน้ี ให้ได้รับเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุจากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งใหม่ในปีงบประมาณถัดไป โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งใหม่แจ้ง ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเดิมที่จ่ายเงินเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุผู้นั้นทราบเพื่อไม่ให้เกิดความซ้ําซ้อน

ทั้งน

ในระหว่างปีงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดิมที่จ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอย

ให้องค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่ินน

ยังคงจ่ายเบี้ยยงชีพผูส้ ูงอายุต่อไปจนกว่าจะส

ปีงบประมาณ”

ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ วรรคหนึ่ง ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความ ดงต่อไปนี้แทน

“ขอ้ ๙ ภายในเดือนธันวาคมของทุกปีให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งบันทึกรายชื่อ ผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุในระบบสารสนเทศตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกําหนด พร้อมทั้งรายงานจังหวัดเพื่อส่งให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินใช้เป็นข้อมูลในการขอต้ังงบประมาณ และจัดสรรงบประมาณ”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

หน้า ๑

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผสู้ ูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท

พ.ศ. 2561

งถ่ิน (ฉบับที่ 3)

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 เพื่อให้สอดคล้องกับมติของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

พ.ศ. 2546 ในการประชุมครั้งที่ 4/2560 เม่ือวันท 10 สิงหาคม 2560 เกี่ยวกับการให้กรมบัญชีกลาง

สามารถจ่ายเงินเบียยงชีพผู้สูงอายุได้ตามนโยบายของรฐบาล

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย จึงออกระเบียบไว้ ดังนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพ

ผู ูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใหใช้บังคับตังแต่ว ถดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 (4) ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์

การจ่ายเงินเบียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ และใช้ความต่อไปนี้แทน

“(4) ไม่เป็นผู้ได้รับสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นใดจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่

(ก) ผู้รับเงินบํานาญ เบียหวัด บํานาญพิเศษ หรือเงินอ่ืนใดในลักษณะเดียวกัน

(ข) ผู้สูงอายุที่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(ค) ผู้ได้รับเงินเดือน ค่าตอบแทน รายได้ประจํา หรือผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่น ที่รัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจดให้เป็นประจํา

บุคคลตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ไม่รวมถึง ผู้พิการหรือผู้ป่วยเอดส์ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 หรือผู้ที่ได้รับ สวัสดิการอื่นตามมติคณะรัฐมนตรี”

หน้า ๒

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

ข้อ 4 ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นวรรคส่ีของข้อ 13 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552

“การโอนเงินเข้าบัญชีให้กับผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตามวรรคหน่ึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

อาจประสานผ่านกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินเพื่อใหกรมบญชีกลางเป็นผ ําเนินการแทนกได็ ้”

ประกาศ ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

หนา ๑

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๖๒

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 4)

พ.ศ. 2562

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 เพื่อให้สอดคล้องกับมติของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ในการประชุมครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 ประกอบกับประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดหน่วยงานผู้มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบ ด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม 2561 เกี่ยวกับการให้กรมบัญชีกลาง สามารถจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุได้ตามนโยบายของรัฐบาล

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัตสภาต าบลและองคการบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖ และมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย จึงออกระเบียบไว้ ดังนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 13 ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“ข้อ 13 การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้แก่ผู้มีสิทธิตามระเบียบนี้ ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจ่ายเป็นเงินสด หรือโอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารในนามผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ หรือในนามบุคคลที่รับมอบอ านาจเป็นหนังสือจากผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นรายเดือน ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน

ในการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับมอบอ านาจต้องตรวจสอบจนแน่ใจว่าเป็นบุคคลเดียวกับผู้ที่ได้รับมอบอ านาจ และต้องได้รับการยืนยันว่าผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุยังมีชีวิตอยู่ ณ วันที่ 1 ของทุกเดือน

การโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้เป็นไปตามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก าหนด หรือตามที่ตกลงกันเป็นอย่างอื่น

หนา ๒

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๕ มีนาคม ๒๕๖๒

การโอนเงินเข้าบัญชีให้กับผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตามวรรคหนึ่ง ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานตามประกาศส านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดหน่วยงานผู้มีอ านาจ หน้าที่รับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนผู้สูงอายุ ตามมาตรา 11 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เป็นหน่วยด าเนินการ”

ประกาศ ณ วนที่ 31 มกราคม พ.ศ. ๒๕๖2 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

มาตรา ๑๑ (๑๒) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

หนา ๒๔

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เรื่อง การสนบสนนการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณีให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหน่ึง (๑๒) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบข้อ ๒ แห่งประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การกําหนดหน่วยงานผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านตาง ๆ ตามพระราชบัญญัตผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง การสนับสนุนการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี”

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก

(๑) ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการสงเคราะห์ในการจัดการศพ ตามประเพณี พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

(๒) ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นคงของมนุษย์ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการสงเคราะห์ในการจัดการศพ ตามประเพณี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

ข้อ ๔ การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี หมายถึง การช่วยเหลือเป็นเงินในการ จัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณีรายละสามพันบาท

ข้อ ๕ การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณีน้ัน ผู้สูงอายุที่ตายต้องเข้าหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

(๑) อายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป (๒) สัญชาติไทย

(๓) ผู้สูงอายุที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เว้นแต่ผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์บัตรสวัสดการแห่งรัฐ

แต่ยังไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือยังไม่ได้ลงทะเบียน ให้ผู้อํานวยการเขต หรือนายอําเภอ หรือกํานัน หรือผู้ใหญ่บ้าน หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตําบล หรือนายกเมืองพัทยา หรือ ประธานชุมชน เป็นผู้ออกหนังสือรับรอง ตามแบบที่อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุกําหนด

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

หนา ๒๕

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณีตามประกาศน้ีให้รวมถึงผู้สูงอายุซ่ึงอยู่ใน ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ สถานสงเคราะห์ สถานดูแล สถานคุ้มครอง หรือสถานใด ๆ ของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ดําเนินการในลักษณะเดียวกัน ซึ่งจัดการศพตามประเพณี โดยมูลนิธิ สมาคมวัด มัสยิด โบสถ์

ข้อ ๖ การยื่นคําขอเพื่อขอรับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี ให้ผู้ที่รับผิดชอบ ในการจัดการศพตามประเพณีรายนั้นยื่นคําขอในท้องที่ที่ผู้สูงอายุมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหรือภูมิลําเนา ในขณะถึงแก่ความตาย ดังต่อไปนี้

(๑) กรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอที่สํานักงานเขต

(๒) จังหวัดอื่น ให้ยื่นคําขอที่สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด หรือที่ว่าการอําเภอ หรือสํานักงานเทศบาล หรือที่ทําการองค์การบริหารส่วนตําบล หรือศาลาว่าการเมืองพัทยา แบบคําขอรับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมกิจการ

ผู้สูงอายุกําหนด

ข้อ ๗ ผู้ยื่นคําขอรับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณีตามข้อ ๖ ต้องยื่นคําขอ ภายในกําหนดหกเดือนนับตั้งแต่วันที่ออกใบมรณบัตรพร้อมเอกสาร ดังต่อไปนี้

(๑) ใบมรณบัตรของผู้สูงอายุ

(๒) บัตรสวัสดิการแห่งรัฐของผู้สูงอายุ หรือหนังสือรับรองตามข้อ ๕ (๓)

(๓) บัตรประจําตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่ายและ เลขประจําตัวประชาชนของผู้ยื่นคําขอ กรณีการจัดการศพตามประเพณีโดยมูลนิธิ สมาคม วัด มัสยิด โบสถ์ ให้แนบหนังสือแสดงการจดทะเบียน หรืออนุญาตให้สร้าง จัดตั้ง หรือดําเนินงานมูลนิธิ สมาคม วัด มัสยิด โบสถ์ด้วย

(๔) สมุดบัญชีหรือเลขที่บัญชีธนาคารของผู้ยื่นคําขอ เว้นแต่ประสงค์จะขอรับเงินสด ให้ดําเนินการตามระเบียบของทางราชการ

(๕) หนังสือรับรองเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการศพตามประเพณี ซึ่งออกโดยบุคคล ตามข้อ ๕ (๓) หรือหัวหน้าหน่วยงานตามข้อ ๕ วรรคสอง สําหรับกรณีผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์ ทั้งนี้ ผู้ยื่นคําขอและผู้รับรองต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกัน แบบหนังสือรับรองให้เป็นไปตามที่อธิบ ดี กรมกิจการผู้สูงอายุกําหนด

ข้อ ๘ การอนุมัติจ่ายเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี (๑) กรุงเทพมหานคร ให้ผู้อํานวยการเขตเป็นผู้มีอํานาจอนุมัติ

(๒) จังหวัดอื่น ให้พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเป็นผู้มีอํานาจอนุมัติ

ข้อ ๙ ในกรณีผู้ที่มีคุณสมบัติและได้ยื่นคําขอเพื่อรับการสงเคราะห์ในการจัดการศพ ตามประเพณีถูกต้องตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เรื่อง กําหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการสงเคราะห์

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

หนา ๒๖

เลม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ในการจัดการศพตามประเพณี พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ก่อนวันท่ีประกาศนี้ ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติและได้ยื่นคําขอดังกล่าวถูกต้องตามประกาศนี้

ข้อ ๑๐ ในกรณีมีปัญหาข้อขัดแย้งในการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด

ประกาศ ณ วนที่ 25 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖3 จุติ ไกรฤกษ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

มาตรา ๑๑ (๑๓) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�าหนด

**การจัดบริการสถานที่ท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ
**

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

‡≈à¡ çÚç µÕπ摇»… çç ß

Àπâ“ 2

√“™n‘®®“πÿ‡∫n…“

ç µÿ≈“§¡ ÚıÙ˜

d√–n“»n√–∑√«ßn“√∑àÕ߇∑Ë’¬«·≈–n’Ó

‡√◊ËÕß niÀπ¥À≈—n‡n≥±å «‘∏’n“√·≈–‡ß◊ËÕπ‰¢n“√§ÿ⡧√Õß n“√ à߇ √‘¡ ·≈–n“√ π∫ πÿπºŸ â ŸßÕ“¬ÿ„πn“√®—¥∫√‘n“√

‡æ◊ËÕÕi𫬧«“¡ –¥«n ∂“π∑’Ë∑àÕ߇∑Ë’¬«

·≈–n“√®—¥n‘®n√√¡n’Ó·≈–ππ∑π“n“√

Õ“»—¬Õiπ“®µ“¡§«“¡„π¡“µ√“ çç (çÛ) ·Ààßæ√–√“™∫—≠≠—µ‘ºŸâ ŸßÕ“¬ÿ

æ.». ÚıÙˆ ·≈–¢Õ

˘ ·Àßd√–n“» iπnπ“¬n√∞¡πµ√’ ‡√Õ

ß niÀπ¥„ÀÀπ«¬ß“π

√—∫º‘¥™Õ∫„πn“√¥i‡π‘πn“√µ“¡æ√–√“™∫—≠≠—µ‘ºâŸ ŸßÕ“¬ÿ æ.». ÚıÙˆ ≈ß«—π∑’Ë

Ú¯ n√nÆ“§¡ æ.». ÚıÙ˜ √—∞¡πµ√’«à“n“√n√–∑√«ßn“√∑àÕ߇∑’ˬ«·≈–n’Ó

®÷ßÕÕnd√–n“»‰«â¥—ßπ’È

¢âÕ ç d√–n“»π’ȇ√’¬n«à“ çd√–n“»n√–∑√«ßn“√∑àÕ߇∑Ë’¬«·≈–n’Ó ‡√Ë◊Õß niÀπ¥À≈—n‡n≥±å «‘∏’n“√·≈–‡ß◊ËÕπ‰¢n“√§ÿ¡§√Õß n“√ à߇ √‘¡ ·≈–n“√ π—∫ πÿπ

º ßÕ“¬„πn“√®¥∫√n“√‡æÕ

Õi𫬧«“¡ –¥«n ∂“π∑∑

Õ߇∑¬

« ·≈–n“√®¥n®n√√¡

n’Ó·≈–π—π∑π“n“√é

¢âÕ Ú „ÀâÀπ૬ߓπ∑Ë’‡n’ˬ«¢âÕß ∑—Èß¿“§√∞·≈–‡Õn™π à߇ √‘¡n“√®—¥∫√‘n“√

‡æ◊ËÕÕi𫬧«“¡ –¥«n·≈–„Àâ ‘∑∏‘ iÀ√—∫ºŸâ ŸßÕ“¬ÿ∑ÿn§π„π ∂“π∑’Ë∑àÕ߇∑’ˬ« À√◊Õ

π“¡n’Ó À√◊Õ ∂“πÕÕnni≈—ßn“¬Õ◊ËπÊ

(ç) niÀπ¥¡“µ√∞“πn“√∫√‘n“√Õi𫬧«“¡ –¥«n iÀ√—∫ºŸâ ŸßÕ“¬ÿ„π

∂“π∑’Ë∑àÕ߇∑’ˬ« À√◊Õ π“¡n’Ó À√◊Õ ∂“πÕÕnni≈—ßn“¬Õ◊ËπÊ

‡≈à¡ çÚç µÕπ摇»… çç ß

Àπâ“ 3

√“™n‘®®“πÿ‡∫n…“

ç µÿ≈“§¡ ÚıÙ˜

(Ú) ¥i‡π‘πn“√d√– “πß“πn—∫Àπ૬ߓπ∑’ˇn’ˬ«¢âÕß∑—Èß¿“§√—∞·≈–‡Õn™π

π∫ πÿπn“√„À∫√‘n“√‡æ◊ËÕÕi𫬧«“¡ –¥«n §«“¡d≈Õ¥¿¬·≈–≈¥Õµ√“§à“‡¢“™¡ À√◊Õn“√‡¢â“√à«¡n‘®n√√¡ iÀ√—∫ºâŸ ŸßÕ“¬ÿ„π ∂“π∑Ë’∑àÕ߇∑’ˬ« π“¡n’Ó À√◊Õ

∂“πÕÕnni≈—ßn“¬

¢âÕ Û ß‡ √¡n“√®¥n®n√√¡∑Õ߇∑¬

« nÓ·≈–ππ∑π“n“√ iÀ√∫º

ßÕ“¬

(ç) dØ∫µß“π√«¡nπÀ√Õ π∫ ππÀπ«¬ß“π∑‡Ë n¬Ë «¢Õß®¥n®n√√¡∑Õ߇∑¬Ë «

n’Ó·≈–π—π∑π“n“√ iÀ√—∫ºŸâ ŸßÕ“¬ÿ

(Ú) ®—¥„Àâ¡’∫√‘n“√·≈– à߇ √‘¡ π—∫ πÿπn‘®n√√¡¬“¡«à“ß·≈–n“√æ—nºàÕπ

iÀ√—∫ºŸâ ŸßÕ“¬ÿ

d√–n“» ≥ «—π∑’Ë Ú n—𬓬π æ.». ÚıÙ˜

π∏¬“ §ÿ≥d≈◊¡È

√—∞¡πµ√’«à“n“√n√–∑√«ßn“√∑àÕ߇∑’ˬ«·≈–n’Ó

มาตรา ๑๑ (๑๓) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�าหนด

**การจัดบริการเพื่ออ�านวยความสะดวกด้านพิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หอจดหมายเหตุแห่งชาติ และการจัดกิจกรรมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
**

มาตรา ๑๑ (๑๓) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�าหนด

**การประชาสัมพันธ์ให้ทราบเกี่ยวกับสิทธิที่ได้รับ
**

หน ๑๐

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔

ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เร่ือง กําหนดหลกเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการส่งเสริมและสนบสนุนการประชาสมพันธ์ให้ผู้สูงอายุ

และเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติงานของหน่วยงานที่จัดบริการตามพระราชบัญญ

ให้ทราบเก่ียวกับสิทธิของผู้สูงอายุอย่างทั่วถึง

ิผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๑๓) มาตรา ๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบข้อ ๒ ของประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การกําหนดหน่วยงานผูม้ ีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบดําเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการ สนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าท่ีในระดับปฏิบัติงานของหน่วยงานที่จัดบริการตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

ให้ทราบเก่ียวกับสิทธิของผู ูงอายุอย่างท่วถงึ ”

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตง้ แต่วันถ จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข ๓ ให ํานกงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอาย

ส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุและเจ้าหน้าที่ในระดับปฏิบัติงานของหน่วยงาน

ที่จัดบริการตามพระราชบัญญ

ิผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้ทราบเกี่ยวกับสิทธิของผู

ูงอายุอย่างทั่วถึง ดงน

(๑) เป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือ รวมทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไปให้ตระหนักถึงสิทธิของผู้สูงอาย ตามพระราชบญญัติผูส้ ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

(๒) ประสานขอความร่วมมือหน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และรัฐวิสาหกิจ

ท่ีเป็นหน่วยงานร ผิดชอบตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ในการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอาย

และบุคลากรของหน่วยงานให้ทราบสิทธิของผูส้ ูงอายุอย่างท่วถึง

(๓) ดําเนินการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรของหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษย์ทราบถึงสิทธิของผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

(๔) รณรงค์และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สิทธิของผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอาย พ.ศ. ๒๕๔๖ ผ่านส่ือหรือช่องทางอื่น ๆ และส่งเสริมองค์กรเครือข่ายร่วมดําเนินการประชาสมพันธ์

ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ อิสสระ สมชัย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพ นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

มาตรา ๑๑ (๑๓) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�าหนด

**การได้รับการดูแลระยะยาวส�าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
**

หนา ๑๑

เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๓๒๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๑

ประกาศคณะกรรมการการกระจายอ านาจให ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

เรื่อง ก าหนดกิจการที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถน

ให้เป็นอ านาจและหนาที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการดแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

โดยที่ภารกิจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเป็นภารกิจส าคัญประการหนึ่งของประเทศ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้บัญญัติรับรองไว้ให้เป็นหน้าที่ของรัฐ ซ่ึงสมควรที่หน่วยงานภาครัฐ ที่มีอ านาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจะได้ให้ความส าคัญและด าเนินการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และต่อมาได้มี ประกาศคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ เรื่อง ก าหนดสิทธิผู้สูงอายุตามมาตรา ๑๑ (๑๓) แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๑ เพื่อก าหนดสิทธิของผู้สูงอายุในการดูแลระยะยาวส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และประกาศ ส านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดหน่วยงานผู้มีอ านาจหน้าที่รับผิดชอบด าเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๑ ก าหนดให้หน่วยงานต่าง ๆ รวม ๖ หน่วยงาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการดูแลระยะยาวส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามมาตรา ๑๑ (๑๓) แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ ดังนั้น จึงสมควรก าหนดอ านาจ และหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มเติม

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑๕) มาตรา ๑๖ (๓๑) มาตรา ๑๗ (๒๙)

และมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และมติคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในคราวประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๑ ที่เห็นชอบให้ออกประกาศ คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อก าหนดอ านาจและหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านค่าใช้จ่ายของบุคลากรในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงออกประกาศก าหนดกิจการ ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ให้เป็นอ านาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ดังนี้

ข้อ ๑ การจัดให้มีบุคลากรและค่าใช้จ่ายของบุคลากรเพื่อท าหน้าที่ในการดูแลระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ ให้เป็นอ านาจและหน้าที่ของเทศบาล องค์การบริหารส่วนต าบล เมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร

ข้อ ๒ การสนับสนุนการฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากรเพื่อท าหน้าที่ในการดูแลระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่จังหวัด และอุดหนุนค่าใช้จ่ายให้ส าหรับการดูแลระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนต าบล ให้เป็นอ านาจ และหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

หนา ๑๒

เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๓๒๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๑

ข้อ ๓ การสนับสนุนงบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นค่าตอบแทน และอบรมบุคลากรเพื่อหน้าที่ในการดูแลระยะยาวส˚าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ให้ด˚าเนินการ ดังนี้ (๑) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเจียดจ่ายจากเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เหลือจ่าย หากไม่เพียงพอให้เสนอของบกลาง รายการเงินส˚ารองจ่าย

เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ˚าเป็น

(๒) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นเสนอตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อเป็นค่าตอบแทนบุคลากรเพื่อหน้าที่ ในการดูแลระยะยาวส˚าหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ต่อไป

ทั้งนี้ ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ วิษณุ เครืองาม

รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการการกระจายอ˚านาจให้แก่องคกรปกครองส่วนท้องถนิ่

หนา ๓

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าดว้ ยอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ และการเบิกค่าใช้จ่าย

พ.ศ. 2562

โดยที่เป็นการสมควรก าหนดให้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการเบิกค่าใช้จ่าย พ.ศ. 2562

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๖๗ (9) แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2505 มาตรา 69 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา ๕ มาตรา ๘๕ (10) และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และมาตรา ๖ มาตรา 7๔ (9) และมาตรา ๗๖ แห่งพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยจึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการเบิกค่าใช้จ่าย พ.ศ. 2562”

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้

“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล องค์การบริหารส่วนต าบล และ องค์การบริหารส่วนจังหวัด

“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนต าบล และ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

“ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า ผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้เต็มที่ มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งได้ผ่านประเมินตามที่คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติก าหนด

“อาสาสมัครบริบาลท้องถน

” หมายความวา

บุคคลที่ท าหน้าที่ช่วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งผ่านการอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในระยะยาว ตามที่กระทรวงมหาดไทยก าหนด ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ และกฎหมาย ว่าด้วยการประกันสังคม

“การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า การบริการดูแลที่บ้านและชุมชน เพื่อให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ด้านอนามัยพื้นฐาน การฟื้นฟูสมรรถภาพ และกายภาพบ าบัด ตามประเภทและกิจกรรมบริการที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด ตลอดจนแนะน าการดูแลและช่วยเหลือ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้เป็นการรักษาพยาบาล

หนา ๔

เลม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒

ข้อ 4 การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อัตราค่าตอบแทน และการจ่ายค่าตอบแทน ของอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ อัตราตามที่กระทรวงมหาดไทยก าหนด

ในการก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทน และการจ่ายค่าตอบแทน ตามวรรคหนึ่ง กระทรวงมหาดไทยอาจหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมอนามัย กรมการแพทย์ ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยก็ได้

ข้อ 5 อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นที่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทน เพื่อเป็นค่าป่วยการชดเชย การงานหรือเวลาท่ีเสียไป เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้แก่ อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นที่มีภูมิล าเนาอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่หรือพื้นที่ใกล้เคียง ที่ได้รับค าสั่งช่วยสนับสนนการปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจากผู้บรหารท้องถนแห่งนั้น ส าหรับค่าตอบแทนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามอัตราค่าตอบแทนตามข้อ 4 โดยให้ตั้ง งบประมาณในหมวดค่าตอบแทน ประเภทค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติราชการ อันเป็นประโยชน์แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงฐานะทางการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตามความเหมาะสม และความจ าเป็นด้วย

ข้อ 6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจัดให้มีการอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงในระยะยาว หรือจัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นหรือหน่วยงานอื่น เพื่ออบรม ให้ความรู้แก่บุคคลในท้องถิ่นของตนที่ประสงค์จะเป็นอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นหรือเพื่ออบรมให้ความรู้ เพิ่มเติมให้แก่อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นของตนก็ได้ โดยให้เป็นไปตามที่กระทรวงมหาดไทยก าหนด

ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมและการเข้าร่วมการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น

ข้อ 7 การเบิกจ่ายเงินและหลักฐานการจ่ายตามข้อ 5 และข้อ 6 ให้ถือปฏิบัติตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่าย การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และ การตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ข้อ 8 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ านาจตีความ วินิจฉัย ปัญหาก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ เพื่อด าเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนที่ 19 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

มาตรา ๑๓ กองทุนผู้สูงอายุ

หนา ๑๐๓

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

ระเบียบคณะกรรมการผสู ูงอายุแหงชาติ

วาด

ยการบริหารกองทุน การรบเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจดั หาผลประโยชน และการจดการกองทุนผูสูงอายุ

พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ (๔) (๗) และมาตรา ๒๓ แหงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานผูสูงอายุแหงชาติ ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ ผูสูงอายุแหงชาติ โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง จึงไดกําหนดระเบียบวาดวยการบริหาร กองทุน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดหาผลประโยชน และการจัดการกองทุน

ผูสูงอายุ ไว ังตอไ ปน

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ วาดวยการบริหารกองทุน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดหาผลประโยชน และการจัดการกองทุนผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๘”

ข ๒ ระเบียบนี้ใหใ ชบังคบตง้ แตวันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ ๓ ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส

คนพิการ และผูสูงอายุ เปนผูรักษาการตามระเบียบน แบบเอกสารตาง ๆ เพ่ือใหเปนไปตามระเบียบนี้

และมีอํานาจกําหนดวิธีปฏิบัติตลอดจนกําหนด

หมวด ๑

ข ความทั่วไป

ขอ ๔ ในระเบียบนี้

“ผูส ูงอายุ” หมายความวา บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปบริบูรณขึ้นไปและมีสัญชาติไทย

“กองทุน” หมายความวา กองทุนผูสูงอายุ

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ

“คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ

หนา ๑๐๔

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ

“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ และใหหมายความรวมถึงสํานักงานพัฒนาสังคมและความ ม่ันคงของมนุษยจังหวัด

หมวด ๒ การบริหารกองทุนผูสูงอาย

ขอ ๕ กองทุนมีวัตถุประสงค เพื่อเปนทุนใชจายเกี่ยวกับการคุมครอง การสงเสริม และการ

สนบสนุนผูสูงอายุตามพระราชบญญ ิผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖

ขอ ๖ คณะกรรมการบริหารกองทุน ประกอบดวย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย เปนประธานกรรมการ ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ เปนรองประธานกรรมการ ผูแทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแทนสํานักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลางและผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งจํานวนหาคน ในจํานวนนี้ตองเปนผูแทนองคกรของผูสูงอายุจํานวนหนึ่งคน ผูแทนองคกรเอกชนที่เกี่ยวของกับงาน ในดานการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผูสูงอายุ จํานวนหนึ่งคน และผูมีความรูความเชี่ยวชาญในการระดมทุนจํานวนหน่ึงคน เปนกรรมการ และให

ผ ํานวยการสํานักสงเสริมและพิทกษผูสูงอายุ เปนกรรมการและเลขานุการ

ขอ ๗ คณะกรรมการบริหารกองทุน มีอํานาจและหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) บริหารกองทุน รวมทั้งดําเนินการเก่ยวกับการจัดหาผลประโยชนและการจัดการกองทุน

ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด

(๒) พิจารณาอนุมัติการจายเงิน เพื่อการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผูสูงอายุ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด

(๓) รายงานสถานะการเงิน และการบริหารกองทุนตอคณะกรรมการตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด

หนา ๑๐๕

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

หมวด ๓

การรับเงิน การจายเงิน และการเก็บรักษาเงิน

ขอ ๘ ใหเปดบัญชีกองทุนไวที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง หรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี เรียกวา “บญชีกองทุนผสู ูงอายุ”

ขอ ๙ เพ่ือความคลองตัวในการบริหารงานกองทุนและมีความจําเปน กองทุนสามารถเปดบัญชี เงินฝากไว ณ ธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค ชื่อบัญชีเดียวกันกับขอ ๘ เพื่อใชจายตามแผนงานประจําปได หรือภายในวงเงินและเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการกําหนดโดยความ เห็นชอบของกระทรวงการคลัง

ขอ ๑๐ เงินที่จะเขาบญชีกองทุนผูสูงอายุ ไดแก

(๑) เงินทุนประเดิมท่ีรัฐบาลจัดสรรให

(๒) เงินที่ไดร ับจากงบประมาณรายจายประจําป

(๓) เงินหรือทรัพยสินท่ีมีผูบริจาคหรือมอบให

(๔) เงินอุดหนุนจากตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ

(๕) เงินหรือทรัพยสินท่ีตกเปนของกองทุนหรือที่กองทุนไดรับตามกฎหมายหรือโดยนิติกรรมอื่น

(๖) ดอกผลที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุน

ขอ ๑๑ ใหกองทุนผูสูงอายุรับเงินตามขอ ๑๐ (๑) และ (๒) นําฝากเขาบัญชีกองทุนผูสูงอายุ กรมบัญชีกลาง

ขอ ๑๒ เงินที่ไดรับตามขอ ๑๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖) ในสวนกลางใหนําสงเขาบัญชีกองทุน ผูสูงอายุที่เปดไว ณ ธนาคารในสวนกลางตามขอ ๙ ภายในสามวันทําการ นับแตวันท่ีไดรับเงิน

หากได

ับเงินในวันเดียวเกินกวาหน่ึงหมื่นบาท ให

ําฝากธนาคารในวันรุงขึนนับจากวันที่ไดรบเงิน

ในสวนภูมิภาคใหนําสงเขาบัญชีกองทุนผูสูงอายุท่ีเปดไว ณ ธนาคารตามวรรคหน่ึง ภายใน สามวันทําการนับแตวันที่ไดรับเงิน ถาวันใดไดรับเงินเกินกวาหน่ึงหมื่นบาทใหนําสงโดยดวนอยางชา ในวันทําการรุงข้ึน หรือใหนําสงสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุภายในระยะเวลาเชนเดียวกัน เพื่อนําเขาบัญชีกองทุนผูสูงอายุที่ฝากไวที่ธนาคาร ตอไป

ขอ ๑๓ เงินและดอกผลท่ีกองทุนไดรับไมตองนําสงกระทรวงการคลงั เปนรายไดแผนดิน

หนา ๑๐๖

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

ขอ ๑๔ การใชจายกองทุนใหใชจายภายใตวัตถุประสงคขอ ๕ โดยใหใชจายตามรายการ ดังตอไปนี้

(๑) จายเปนเงินสนับสนุนแผนงาน และโครงการในการสงเสริมการพัฒนาตนเอง ท้ังทางดาน การศึกษา สังคม ศาสนา ขอมูลขาวสาร อาชีพ การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม การสงเสริม บทบาทอาสาสมคร การรวมกลุมในลักษณะเครือขายชุมชน

(๒) จายเปนเงินชวยเหลือผูสูงอายุท่ีไดรับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหา ประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง รวมทั้งประสบปญหาความเดือดรอนเรื่องที่พัก อาหาร หรือเครื่องนุงหม เปนตน

(๓) จายเปนเงินกูใหผูสูงอายุไดก ูยืมเงินเพื่อเปนทุนประกอบอาชีพ

(๔) จายเปนเงินอุดหนุนองคกรที่ดําเนินการเกี่ยวกับการใหคําแนะนําปรึกษา หรือดําเนินการ

อื่นที่เกี่ยวข งในทางคดี รวมทั้งการแกไขปญหาครอบครัว

(๕) จายเปนคาใชจายในการดําเนินงานของกองทุนผูสูงอายุ เชน การบริหารกองทุน การจัดหาผลประโยชน การติดตามประเมินผลและตรวจสอบการดําเนินงานของกองทุน

(๖) จายเปนคาใชจายในเรื่องอ่ืน ๆ เพื่อการคุมครอง สงเสริม และสนับสนุนตามที่ คณะกรรมการกําหนด

ขอ ๑๕ ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ หรือผูซึ่งผูอํานวยการมอบหมายสั่งจายเงินกองทุน หลังจากไดรับการอนุมัติ จากคณะกรรมการบริหารกองทุนแลว

ขอ ๑๖ ใหสํานักงานเปนหนวยงานทําหนาที่ควบคุมรบผิดชอบการจายเงินกองทุน

ขอ ๑๗ ในการจายเงินใหมีหลักฐานการจายเก็บรักษาไวใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ตรวจสอบตามระเบียบของทางราชการดวย

ขอ ๑๘ การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินหรือการปฏิบัติอื่นใดที่มิไดกําหนดไวใน

ระเบียบน ใหถือปฏบัิ ติตามระเบียบของทางราชการวาดวยการน้ันโดยอนุโลม หากไมสามารถปฏิบัติ

ตามระเบียบของราชการไดใหท ําความตกลงกับกระทรวงการคลัง

หนา ๑๐๗

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

หมวด ๔

การจดั หาผลประโยชนของกองทุน

ขอ ๑๙ ให ําเงินกองทุนไปหาผลประโยชนไดดงนั

(๑) ฝากไวกับธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจ

(๒) ซื้อพนธบัตรรัฐบาล

(๓) ซื ตราสารการเงินอ่ืนตามท่ีกระทรวงการคลังเห็นชอบ

(๔) ดําเนินการอื่นตามท่ีคณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

หมวด ๕ การจัดการกองทุน

ขอ ๒๐ การบัญชีใหจัดทําตามหลักบัญชีคู เกณฑคงคาง ตามหลักการและนโยบายบัญชี สําหรับหนวยงานภาครัฐ ผังบัญชีมาตรฐานและมาตรฐานรายงานการเงินสําหรับหนวยงานภาครัฐ ที่กระทรวงการคลังประกาศกําหนด

การปดบัญชีใหกระทําปละครั้ง โดยถือปงบประมาณเปนรอบปบัญชี และใหจัดทํางบการเงิน พรอ มท้ังรายละเอียดประกอบสงสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเพื่อตรวจสอบและรับรองภายในเกาสิบ

วันนับตั้งแตวนสินปงบประมาณ เมื่อสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบร การเงินดังกลาวใหกรมบญชีกลางและสํานักงบประมาณทราบตอไป

รองแลว ใหสงสําเนา

ข ๒๑ ใหสํานักงานเปนหนวยงานจัดทํารายงานรับจายเงินและยอดคงเหลือของกองทุน

เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุน และสงสําเนากรมบญชีกลางปละหนึ่งครัง้

ขอ ๒๒ ใหสํานักงานจัดใหมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดีและใหหนวยงานตรวจสอบภายใน ของสํานักงาน ดําเนินการตรวจสอบเก่ียวกับการเงินการบัญชี และการพัสดุ พรอมขอเสนอแนะและปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานของกองทุนตามระเบียบน้ี แลวรายงานตอคณะกรรมการอยางนอยปละหน่ึงครั้ง

ประกาศ ณ วันท ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘

ปุระชัย เปยมสมบูรณ รองนายกรฐมนตรี

ประธานกรรมการสงเสริมและประสานงานผ

ูงอายุแหงชาต

หนา ๑๐๘

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

ระเบียบคณะกรรมการผ ูงอายุแหงชาต

วาดวยการพิจารณาอนุมัติการจายเงิน การจัดทํารายงานสถานะการเงิน

และการบริหารกองทุนผ

พ.ศ. ๒๕๔๘

ูงอาย

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ (๕) (๖) และมาตรา ๒๓ แหงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานผูสูงอายุแหงชาติ ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ ผูสูงอายุแหงชาติ จึงไดกําหนดระเบียบวาดวยการพิจารณาอนุมัติการจายเงิน การจัดทํารายงานสถานะ การเงิน และการบริหารกองทุนผูส ูงอายุ ไวดังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติวาดวยการพิจารณาอนุมัติ การจายเงิน การจัดทํารายงานสถานะการเงิน และการบริหารกองทุนผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบียบนีใ้ หใ ชบงั คบตง้ แตวันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ ๓ ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ เปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอํานาจกําหนดวิธีปฏิบัติตลอดจนกําหนด แบบเอกสารตาง ๆ เพื่อใหเปนไปตามระเบียบนี้

หมวด ๑

ข ความท ไป

ขอ ๔ ในระเบียบนี้

“กองทุน” หมายความวา กองทุนผ

ูงอาย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ “คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก

เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ

หนา ๑๐๙

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ และใหหมายความรวมถึงสํานกงานพัฒนาสงคมและความม่ันคงของมนุษยจงหวัด

หมวด ๒ หลักเกณฑและเง่ือนไขการพิจารณาอนุม

ิการจายเงิน

ดังตอไปน

ขอ ๕ โครงการที่จะไดรับการพิจารณาอนุมัติจายเงินจากกองทุน ตองเปนไปตามหลักเกณฑ

(๑) เปนโครงการที่มีผลตอการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผูสูงอายุ หรือการ

ดําเนินงานของกองทุน

(๒) กรณีเปนโครงการของหนวยงานภาครัฐควรเปนโครงการใหมและเรงดวนที่ไมไดต้ัง งบประมาณรองรับ และไมเปนโครงการตอเน่ือง

(๓) กรณีเปนโครงการขององคกรภาคเอกชน หรือองคกรของผูสูงอายุตองไมไดรับการ สนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการ และแหลงทุนอื่น ๆ หรือไดรับแตไมเพียงพอ

ขอ ๖ หลักเกณฑ และเงื่อนไขอื่น ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนประกาศ กําหนด โดยไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการ

ขอ ๗ เพื่อใหไดรายละเอียดประกอบการพิจารณาอนุมัติย่ิงขึ้น คณะกรรมการบริหาร กองทุนหรือสํานักงานอาจใหผูแทนหนวยงานหรือองคกรที่เสนอขอรับการสนับสนุนหรือบุคคลท่ี เกี่ยวของชี้แจงรายละเอียดหรือแสดงหลักฐานเพิ่มเติม หรือจัดสงเจาหนาที่ไปตรวจสอบขอเท็จจริงยัง สํานักงาน หรือสถานท่ีดําเนินงานของหนวยงานหรือองคกรท่ีเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุน

ผู ูงอายุดว

ยก็ได

ขอ ๘ ผปู ระสงคขอรบการสนับสนุนเงินจากกองทุน จะตองมีคุณสมบัติดังน

(๑) เปนหนวยงานภาคร หรือองคกรภาคเอกชน หรือองคกรของผูสูงอายุท่ีดําเนินการตาม

วัตถุประสงค และกิจกรรมเก่ียวกับการคุมครอง การสงเสริม และการสนบสนุนผูสูงอาย

(๒) มีผลการดําเนินงานเปนที่ยอมรบั และเปนประโยชนตอผูสูงอายุ

(๓) มีระบบการบริหารงานรวมทั้งระบบการเงิน การบัญชีท่ีมีประสิทธิภาพ

(๔) เปนผ ีคุณสมบัตอ่ิ ืนตามท่ีผูอํานวยการกําหนด

ขอ ๙ การยื่นขอรับการสนับสนุนในเขตกรุงเทพมหานครใหยื่นตอสํานักสงเสริมและพิทักษ ผูสูงอายุ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ

หนา ๑๑๐

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

สําหรับในสวนภูมิภาคใหย ื่นตอสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด เพื่อนําเสนอตอ คณะกรรมการบริหารกองทุน

ใหสํานักงานทําหนาที่ตรวจสอบและวิเคราะหความเปนไปไดของแตละโครงการพรอมท้ัง เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารกองทุนดวย

ขอ ๑๐ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุน พิจารณาอนุมัติการขอสนับสนุนเงินกองทุนอยาง นอยทุกสองเดือน เวนแตไมมีการเสนอเรื่องเพื่อขอรับการสนับสนุน

ในกรณีกรรมการบริหารกองทุนหรือบุคคลที่มีสวนไดเสียกับโครงการที่ขอรับการสนับสนุน ไมวาทางตรงหรือทางออม หามมิใหเขารวมพิจารณาโครงการนัน้

ข ๑๑ ใหสํานักงานแจงผลการอนุมัติใหผูขอรับการสนับสนุนทราบ ภายในสามสิบวันนับ

แตวันที่ไดรับการพิจารณาอนุมัติ

ขอ ๑๒ ใหสํานักงาน ดําเนินการดังนี้

(๑) จัดทําทะเบียนหนวยงาน หรือองคกรท่ีไดรับการสนับสนุนจากกองทุน เพื่อควบคุม กํากับดูแลและติดตามประเมินผลการดําเนินงานและการใชจายเงินของกองทุน

(๒) สงเสริมและสนบสนุนการดําเนินงานของโครงการท่ีไดรบอนุม

ขอ ๑๓ หนวยงานหรือองคกรที่ไดรับเงินจากกองทุนตองรายงานผลการปฏิบัติงานและการ

ใชจายเงินท่ีไดรับจากกองทุนตามแบบที่ผ ํานวยการกําหนด

หากหนวยงานหรือองคกรมิไดดําเนินการหรือดําเนินการไมเปนไปตามแผนการใชจายเงินให ผูอํานวยการหรือผูซึ่งผูอํานวยการมอบหมายระงับการจายเงินงวดตอไปไวกอน แลวดําเนินการ ตรวจสอบและรายงานผลตอคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อดําเนินการตอไป

ขอ ๑๔ หนวยงานหรือองคกรที่ไดรับเงินจากกองทุนจะตองยินยอมใหสํานักงานตรวจเยี่ยม การดําเนินงานตามที่ไดรับเงินจากกองทุน หรือใหเจาหนาที่เขาตรวจเอกสารเก่ียวกับบัญชีทะเบียนและ

หลักฐานอื่น ๆ ตลอดจนสอบถามหรือสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวข งไดดวย

หมวด ๓ การจัดทํารายงานสถานะการเงิน และการบริหารกองทุน

ขอ ๑๕ ใหสํานักงานจัดทําบัญชีและรายงานการเงินตามที่คณะกรรมการกําหนด โดยปดบัญชีป ละหนึ่งครั้ง ตามปงบประมาณ และนําสงใหสํานักงานภายในสามสิบวันนับต้งแตวันสิ้นปงบประมาณ

หนา ๑๑๑

เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘

ขอ ๑๖ ใหสํานกงานรวบรวมงบการเงินประจําปและรายละเอียดประกอบของเงินกองทุนใน สวนกลางและสวนภูมิภาค เพ่ือจัดทํางบการเงินกองทุนในภาพรวม สงใหหนวยตรวจสอบภายในของ สํานักงานตรวจสอบ กอนสงใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ตรวจสอบภายในเกาสิบวันนับต้ังแต วนสิ้นปงบประมาณ

ขอ ๑๗ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนรายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนตอ คณะกรรมการภายในหกสิบวนนบแตวันสินปงบประมาณ หรือตามที่คณะกรรมการกําหนด

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ปุระชัย เปยมสมบูรณ รองนายกรัฐมนตรี

ประธานกรรมการสงเสริมและประสานงานผ ูงอายุแหงชาต

หน้า ๘

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

ระเบียบคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ

ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข การรับเงิน การจัดสรรเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินสงเคราะห์เพื่อการยงชีพแก่ผู้สูงอายุท่ีมีรายได้น้อย พ.ศ. ๒๕๖๑

โดยที่เป็นการสมควรกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข การรับเงิน การจัดสรรเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินสงเคราะห์เพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย อาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา ๙ (๕) (๘) มาตรา ๑๕/๓ วรรคสอง และมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกอบมติคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ครั้งท ๑/๒๕๖๑

เม่ือว

ที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะกรรมการผูส้ ูงอายุแห่งชาติ จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์

วิธีการ และเงื่อนไขการจัดสรรเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพแก่ผ ูงอายุท่ีมรายไดี ้น้อย พ.ศ. ๒๕๖๑”

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข ๓ ให้ประธานกรรมการผ ูงอายุแห่งชาติ เป็นผู้รักษาการตามระเบียบน

ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้ประธานกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ

เป็นผูว้ ินิจฉัยชีขาด คําวินิจฉยของประธานกรรมการผู ูงอายุแห่งชาติใหเป็นที่สุด

หมวด ๑ บททั่วไป

ข ๔ ในระเบียบน

“เงินบํารุงกองทุน” หมายความว่า เงินที่กองทุนได้รับจากผู้มีหน้าที่เสียภาษีสรรพสามิต ในส่วนที่เก่ียวกับสินค้าสุราและยาสูบ ในอัตราร้อยละสองของภาษีที่เก็บจากสุราและยาสูบ ตามกฎหมายว่าดวยภาษีสรรพสามิต

“เงินบริจาค” หมายความว่า เงินเบี้ยยังชีพหรือเงินอื่นที่มีผู้บริจาคเข้ากองทุนผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจ่ายเป็นเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพ

แก่ผู

ูงอายุที่มีรายไดน้ ้อยตามระเบียบนี้

“กองทุน” หมายความว่า กองทุนผสู้ ูงอายุ

“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการผ

ูงอายุแห่งชาต

ข้อ ๕ ผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์เพ่ือการยังชีพต้องเป็นผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับสิทธิ ในโครงการเพ่ือสวัสดิการแห่งรัฐ หรือที่เรียกช่ืออย่างอื่น

ข้อ ๖ สิทธิรบเงินสงเคราะห์เพ่ือการยังชีพสิ้นสุดลงในกรณี ดังต่อไปน้ี

(๑) ตาย

หน้า ๙

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

(๒) ขาดคุณสมบัติตามข้อ ๕

(๓) แจงสละสิทธิเป็นหนังสือต่อกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานที่กระทรวงการคลงกําหนด ข้อ ๗ ใหเปิดบัญชีไว้ที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลงั ๓ บญชี ประกอบด้วย

(๑) บัญชี “กรมกิจการผ ูงอายุสําหรับภาษีสรรพสามตและสิ ุรายาสบู ”

(๒) บญชี “กองทุนผ ูงอายุสําหรับภาษีสรรพสามิตและสุรายาสูบ”

(๓) บญชี “กองทุนผู้สูงอายุสําหรับเงินบริจาคเพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุท่ีมีรายได้น้อย”

บัญชีตาม (๑) มีวัตถุประสงค์ในการรับเงินบํารุงกองทุนตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต บัญชีตาม (๒) และ (๓) มีวัตถุประสงค์ในการรับเงินบํารุงกองทุน และเงินบริจาคสําหรับจัดสรร เป็นเงินสงเคราะห์เพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุท่ีมีรายได้นอย

ข้อ ๘ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนดําเนินการรับเงิน จัดสรรเงิน จ่ายเงิน และเก็บ รักษาเงินบํารุงกองทุนและเงินบริจาค โดยให้กรมบัญชีกลางจ่ายเป็นเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพแก่ ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย

ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเป็นผู้พิจารณาอัตราการจ่าย โดยคํานึงถึงจํานวนเงิน ของกองทุนตามระเบียบนี้ และจํานวนผูส้ ูงอายุท่ีมีสิทธิไดร้ ับเงินสงเคราะห์เพ่ือการยังชีพตามข้อ ๕

การจ่ายเงินตามวรรคหนึ่ง ให้กรมบัญชีกลางเบิกจากบัญชีตามข้อ ๗ (๒) และ (๓) ในรหัสกองทุน ปีงบประมาณใดมีเงินเหลือจากการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพ ให้คณะกรรมการ

บริหารกองทุนนํามาจัดสรรตามระเบียบนี้

ขอ้ ๙ วิธีปฏิบัติในเรื่องการเงินที่มิได้กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการว่าด้วยการนั้นโดยอนุโลม หากไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการได้ให้ ขอทําความตกลงกับกรมบัญชีกลาง

หมวด ๒ เงินบํารุงกองทุน

ข้อ ๑๐ เม่ือกรมกิจการผู้สูงอายุได้รับเงินบํารุงกองทุนแล้ว ให้ผลักส่งเงินในบัญชีตามข้อ ๗ (๑)

เข้าบัญชีตามข้อ ๗ (๒) ภายในห้าวันทําการนับแต่วนั ที่ไดร้ ับ

ให้กรมกิจการผู้สูงอายุตรวจสอบเงินในบัญชีตามข้อ ๗ (๑) มิให้เกินสี่พันล้านบาท ต่อปีงบประมาณ หากในปีงบประมาณใดได้รับเงินบํารุงกองทุนเกินสี่พันล้านบาท ให้นําส่วนท่ีเกินนั้น

ส่งคืนคลังเป็นรายได้แผ่นดินภายในสามสิบว

นบแต่วันที่ไดร้ ับ

หมวด ๓ เงินบริจาค

ข้อ ๑๑ ให้เปิดบัญชีกองทุนประเภทบัญชี “ออมทรัพย์” ไว้ท่ีธนาคารกรุงไทย และธนาคาร เพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรท้งส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง ดังนี้

หน้า ๑๐

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑

(๑) ส่วนภูมิภาคเรียกว่าบัญชี “กองทุนผู้สูงอายุสําหรับเงินบริจาคเพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ท่ีมีรายได้น้อยจงหวัด”

(๒) ส่วนกลางเรียกว่าบัญชี “กองทุนผู้สูงอายุสําหรับเงินบริจาคเพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ท่ีมีรายได้น้อย”

ข้อ ๑๒ ดอกผลที่เกิดจากเงินตามบัญชีในข้อ ๑๑ ให้นํามารวมจัดสรรเป็นเงินสงเคราะห์ เพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยตามระเบียบนี้

ข ๑๓ ให้สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดรวบรวมเงินตามบัญชี

ในข้อ ๑๑ (๑) และรายชื่อของผูบริจาคทุกสิ้นเดือน ให้สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดโอนเงินตามบัญชีในข้อ ๑๑ (๑)

เข้าบัญชีในข้อ ๑๑ (๒) พร้อมส่งข้อมูลรายละเอียดของผู้บริจาคให้กองทุนภายในห้าวันทําการนับแต่ วันสิ้นเดือน

ข้อ ๑๔ เมื่อกองทุนได้รับเงินตามข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓ แล้ว ให้นําฝากเข้าบัญชีตามข้อ ๗ (๓)

ภายในสิบห้าวันทําการนับแต่วันท่ีได้รับเงิน

หมวด ๔ การรายงานผลการดําเนินงาน

ข้อ ๑๕ ให้กรมบัญชีกลางรายงานผลการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุ ท่ีมีรายได้น้อยให้กรมกิจการผู้สูงอายุทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ประกาศ ณ วันท ๒๓ เมษายน พ.ศ. 256๑

พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ

หน้า ๑

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๖๑

ระเบียบกระทรวงการคลัง

ว่าด้วยการจัดเก็บ การนําส่งเงิน การยกเว้น การลดหย่อน และการขอคืน เงินบํารุงกองทุนผูส้ ูงอายุ สําหรับสินค้าสุราและยาสูบ

พ.ศ. 2561

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15/1 มาตรา 15/2 และมาตรา 15/4 แห่งพระราชบัญญัต

ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ (ฉบับท 3) พ.ศ. 2560

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงวางระเบียบปฏิบัติในการจัดเก็บ การนําส่งเงิน การยกเว้น การลดหย่อน และการขอคืนเงินบํารุงกองทุนผูส้ ูงอายุ สําหรบสินค้าสุราและยาสูบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดเก็บ การนําส่งเงิน การยกเว้น การลดหย่อน และการขอคืนเงินบํารุงกองทุนผู้สูงอายุ สําหรับสินค้าสุราและยาสูบ พ.ศ. 2561”

ข้อ 2 ระเบียบนี้ใหใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ในระเบียบนี้

“กองทุน” หมายความว่า กองทุนผสู้ ูงอายุ

“สุรา” หมายความว่า สุราตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต

“ยาสูบ” หมายความว่า ยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต

“ภาษี” หมายความว่า ภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิตในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสินค้า สุราและยาสูบ

“ผู้มีหน้าท่ีส่งเงินบํารุงกองทุน” หมายความว่า ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษี สรรพสามิตในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับสินคา้ สุราและยาสูบ

ข 4 ให้ผู้มีหน้าที่ส่งเงินบํารุงกองทุน ส่งเงินบํารุงกองทุนในอัตราร้อยละสองของภาษี

ท่ีเก็บจากสินค้าสุราและยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต

ในการคํานวณเงินบํารุงกองทุนตามอัตราที่กําหนดในวรรคหน่ึง หากมีเศษของหนึ่งสตางค์

ให ัดทิ้ง

ข้อ 5 ให้ผู้มีหนา้ ที่ส่งเงนิ บํารงกองทนุุ ส่งเงินบํารุงกองทุนตามแบบ ผส. ๑/๐๑

ท้ายระเบียบนี้ พร้อมกับการชําระภาษีสรรพสามิตในส่วนที่เก่ียวข้องกับสินคา้ สุราและยาสูบ ณ สถานที่ ย่ืนแบบชําระภาษีสรรพสามิตตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต

กรณีการยื่นแบบชําระภาษีสรรพสามิตในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสินค้าสุราและยาสูบ ผ่านเครือข่าย

อินเตอร์เน็ต ท่ีเว็บไซต์กรมสรรพสามิต สรรพสามิต ณ กรมสรรพสามิต

http://www.excise.go.th

ให้ถือว่าเป็นการยื่นแบบชําระภาษ

หน้า ๒

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๖๑

ขอ้ 6 กรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินบํารุงกองทุน ไม่ส่งเงินบํารุงกองทุน หรือส่งภายหลัง ระยะเวลาที่กําหนด หรือส่งเงินบํารุงกองทุนไม่ครบตามจํานวนท่ีต้องส่ง ผู้มีหน้าที่ส่งเงินบํารุงกองทุน จะต้องเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจํานวนเงินที่ไม่ส่งหรือส่งภายหลังระยะเวลาที่กําหนด หรือจํานวนเงินที่ส่งขาดไป แล้วแต่กรณี นับแต่วันครบกําหนดส่งจนถึงวันที่ส่งเงินบํารุงกองทุนครบถ้วน ทงั นี้ เงินเพิ่มจะตองไม่เกินจํานวนเงินบํารุงกองทุน และให้ถือว่าเงินเพิ่มนีเป็นเงินบํารุงกองทุนด้วย

การคํานวณระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง เศษของเดือนใหน้ ับเป็นหนึ่งเดือน

ขอ้ ๗ การนําส่งเงินบํารุงกองทุน ให้นําส่งเข้าบัญชีเงินฝากคลังของกรมกิจการผู้สูงอายุ

ช่ือบัญชี “กรมกิจการผ ูงอายุสําหรับภาษีสรรพสามิตและสุรายาสูบ” โดยดําเนินการดังน

(๑) สําหรับกรมศุลกากร ให้สํานักงานศุลกากรหรือด่านศุลกากร หรือหน่วยจัดเก็บที่เรียกช่ือ เป็นอย่างอื่นเป็นผู้จัดเก็บและนําส่งเข้าบัญชีเงินฝากคลังของหน่วยจัดเก็บ และให้นําส่งโดยวิธีการโอน

ขายบิลเข้าบัญชีเงินฝากคลังของกรมกิจการผ ูงอายุ

(ก) ในการส่งเงินให้หน่วยจัดเก็บจัดทําใบส่งเงินบํารุงกองทุนตามแบบ ผส. ๑/๐๒ และ บัญชีสรุปรายละเอียดการรับ - ส่งเงินบํารุงกองทุนตามแบบ ผส. ๑/๐๓ รายงานให้กองทุนทราบ ภายในวนั ที่ ๑0 ของเดือนถัดไป

(ข) ให้หน่วยจัดเก็บจัดทํารายงานการจัดเก็บเงินบํารุงกองทุนประจําเดือนตามแบบ

ผส. ๑/๐๔ ส่งให้ส่วนกลางของกรมศุลกากร ภายในว ท ๑0 ของเดือนถดั ไป และ

(ค) ให้กรมศุลกากรรายงานการนําส่งเงินในภาพรวมให้กองทุนทราบภายในวันท่ี

15 ของเดือนถัดไป

(๒) สําหรับกรมสรรพสามิต ให้สํานักงานสรรพสามิตพ้ืนที่ หรือสํานักงานสรรพสามิต พ้ืนที่สาขา หรือหน่วยจัดเก็บที่เรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืน เป็นผู้จัดเก็บและนําส่งเข้าบัญชีเงินฝากคลัง กรมสรรพสามิต และให้กรมสรรพสามิตนําส่งโดยวิธีการโอนขายบิลเข้าบัญชีเงินฝากคลังของกรมกิจการ

ผ ูงอายุ และรายงานให้กองทุนทราบภายในว ท 15 ของเดือนถดั ไป

ข้อ ๘ การนําส่งเงินบํารุงกองทุนเพื่อเป็นรายได้กองทุน ให้กรมกิจการผู้สูงอายุเป็นผู้นําส่ง โดยดําเนินการดังนี้

(๑) ให้นําเงินจากบัญชีเงินฝากคลังของกรมกิจการผู้สูงอายุ ชื่อบัญชี “กรมกิจการผู้สูงอายุ

สําหรบภาษีสรรพสามิตและสุรายาสูบ” ส่งให้กองทุนภายในวันท ๒๐ ของเดือนถ ไป

การนําส่งเงินข้างต้น ให้แจ้งการนําส่งเงินบํารุงกองทุนและหลักฐานการนําส่งเงินบํารุงกองทุน ส่งให้กองทุนภายในห้าวันทําการ นบแต่วันนําส่งเงินให้กองทุน

(๒) การส่งเงินให้แก่กองทุนตามข้อ ๘ (๑) ให้นําส่งปีงบประมาณละไม่เกินสี่พันล้านบาท ส่วนที่เหลือให้นําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินภายในสามสิบวัน นับจากวันที่กองทุนได้รับเงินครบสี่พันล้านบาท

หน้า ๓

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๖๑

ข ๙ ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิตในส่วนที่เกี่ยวกับ

สินค้าสุราและยาสูบได้รับการยกเว้น ลดหย่อน หรือคืนภาษีให้ได้รับการยกเว้น ลดหย่อน หรือคืนเงิน บํารุงกองทุนด้วย

การขอรับเงินบํารุงกองทุนคืนจากกองทุน ให้อธิบดีกรมสรรพสามิต หรือผู้ได้รับมอบหมายเป็น ผู้มีอํานาจในการสั่งคืนเงินบํารุงกองทุน โดยใช้วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีการขอคืนภาษีสรรพสามิต ในส่วนที่เกี่ยวกับสินคา้ สุราหรือยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต

ข ๑๐ ให้ผู้ส่งออกแจ้งความประสงค์ขอคืนหรือยกเว้นเงินบํารุงกองทุนพร้อมกับคําขอคืน

หรือยกเว้นค่าภาษีสรรพสามิตในส่วนที่เกี่ยวกบสินค้าสุราและยาสูบ

ข้อ ๑๑ สําหรับสินค้าสุราหรือยาสูบที่ส่งออกนอกราชอาณาจักร ให้ได้รับการยกเว้นการส่งเงิน

บํารุงเข้ากองทุน โดยให ู้มหนี ้าที่ส่งเงนบิ ํารุงกองทุนแจ้งความประสงค์ขอยกเว้นภาษี พร้อมกับการขออนุญาต

ส่งออกสุราและยาสูบตามกฎหมายว่าดวยภาษีสรรพสามิต ตามแบบ ผส. ๑/๐๕

ข้อ ๑๒ การดําเนินการอื่นใดท่ีไม่ได้กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบราชการ โดยอนุโลม

ข้อ ๑๓ ให้ปลดกระทรวงการคลังเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ อภิศกดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ

เร่ือง หลักเกณฑ และเงื่อนไขอื่นที่ใหการสนบสนุนทางการเงินจากกองทุนผู

**ูงอาย
**

อาศยอํานาจตามขอ ๖ ของระเบียบคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ วาดวยการ

พิจารณาอนุมัติการจายเงิน การจัดทํารายงานสถานะการเงิน และการบริหารกองทุนผูสูงอายุ พ.ศ.

๒๕๔๘ ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ คณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ จึงออกประกาศหลักเกณฑและเงื่อนไขอื่นที่ใหการ สนับสนุนทางการเงินจากกองทุนผูสูงอายุไว ดังตอไปนี้

ข ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ เร่ือง

หลักเกณฑ และเงื่อนไขอื่นที่ใหการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนผูสูงอายุ”

ขอ ๒ ในประกาศนี้

“กองทุน” หมายความวา กองทุนผูสูงอายุ

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ

“หนวยงานภาครัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่ เรียกชื่ออยางอื่น ซึ่งมีฐานะเปนกรม ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรฐที่ดําเนินการตามวตถุประสงค และกิจกรรมเกี่ยวกับการคุมครอง การสงเสริม และ การสนับสนุนผูส ูงอายุ

“องคกรภาคเอกชน” หมายความวา องคกรที่มิใชของสวนราชการหรือหนวยงานอื่น ของรัฐ และเปนองคกรที่ดําเนินการตามวัตถุประสงค และกิจกรรมเกี่ยวกับการคุมครอง การสงเสริม และ การสนับสนุนผูสูงอายุ

“องคกรของผูสูงอายุ” หมายความวา องคกรที่ผูสูงอายุรวมตัวกันดําเนินการตาม วัตถุประสงค และกิจกรรมเกี่ยวกบการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผูสูงอายุ

“ผู ูงอายุทขอ่ี กูยืมเงินทนุ ประกอบอาชีพ” หมายความวา ผซงม่ึู ีอายุเกินหกสิบปขนไป้ึ

และมีสัญชาติไทยที่ประสบปญหาความเดือดรอนดานเงินทุนประกอบอาชีพ โดยไมไดรับความชวยเหลือ จากแหลงทุนอื่น หรือไดร ับแตไมเพียงพอ

“ผู ํานวยการ” หมายความวา ผอานวํู ยการสํานักงานสงเสริมสวสดิภาพและพิทกษ

เด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ

ขอ ๓ คุณสมบัติของผูขอรบการสนบสนุนเงินจากกองทุน มีดังนี้

(๑) กรณีเปนหนวยงานภาครฐั

(ก) มีอํานาจหนาท่ีเก่ียวกับการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผ

ูงอาย

(ข) ไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการตามประกาศสํานัก นายกรัฐมนตรี เร่ือง กําหนดหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.

๒๕๔๖ หรือมีหนาท่ีดําเนินการในการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผูสูงอายุตามประกาศ

กระทรวงที่เกี่ยวของ หรือมีหนาท่ีตามกฎหมายในการสงเสริมกิจกรรมเก่ียวกับผ ูงอาย

(๒) กรณีองคกรภาคเอกชนหรือองคกรของผูสูงอายุที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคล

หรือไดรับการรับรองเปนองคกรสาธารณประโยชนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการจ สวสดิการสังคม

(ก) จะตองดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผูสูงอายุ ตอเน่ืองจนถึงวันยื่นคําขอไมนอยกวาหกเดือน

(ข) มีสํานักงานใหญตงั้ อยูในทองที่ท่ีจะยื่นคําขอไมนอยกวาหกเดือน

(ค) มีบุคลากร หรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานประจํา หรือมีที่ปรึกษาที่มี

ความรูเกี่ยวกับผ

ูงอายุ

(ง) มีผลการดําเนินงานเปนท่ียอมรับและเปนประโยชนตอผ

ูงอาย

(จ) มีระบบการบริหารงานรวมทงั ระบบการเงินการบญชีท่ีมีประสิทธิภาพ

(๓) กรณีองคกรภาคเอกชนหรือองคกรของผูสูงอายุท่ีไมไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลหรือไม ไดรับการรับรองเปนองคกรสาธารณประโยชนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการจดั สวสดิการสงั คม

(ก) จะตองดําเนินกิจกรรมเก่ียวกับการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุน

ผ ูงอายุตอเนื่องจนถึงวนย่ืนคําขอไมนอยกวาหนึ่งป

(ข) มีสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐ หรือองคกรภาคเอกชนหรือองคกรของ

ผูสูงอายุที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคล หรือองคกรสาธารณประโยชนรับรองวาเปนองคกรที่มีผลงานเกี่ยวของ

กับการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผู ูงอาย

(ค) มีสํานักงานใหญตัง้ อยูในทองท่ีที่จะยื่นคําขอไมนอยกวาหน่ึงป

(ง) มีบุคลากร หรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานประจํา หรือมีท่ีปรึกษาที่มี ความรูเกี่ยวกบั ผูสูงอายุ

(จ) มีผลการดําเนินงานเปนท่ียอมรับและเปนประโยชนตอผูสูงอายุ

(ฉ) มีระบบการบริหารงานรวมทงั ระบบการเงินการบัญชีที่มีประสิทธิภาพ

(๔) กรณีผูสูงอายุขอกูยืมเงินทุนประกอบอาชีพ ตองมีคุณสมบัติและมีบุคคลที่นาเชื่อถือ ตามท่ีผูอํานวยการกําหนดค้ําประกัน

ขอ ๔ ลักษณะโครงการท่ีจะไดรับการพิจารณาอนุมัติจายเงินจากกองทุนตองเปนไปตาม หลกเกณฑดังตอไปนี้

(๑) โครงการที่มีวัตถุประสงคและกระบวนการในการดําเนินงานชัดเจน มีผลตอ

การคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุนผ ูงอายุ หรอื การดําเนินงานของกองทุน

(๒) โครงการท่ีสรางการมีสวนรวมของบุคคลหรือหนวยงานหรือประชาชนเก่ียวกับการ คุมครอง การสงเสริม และการสนบสนุนผูส ูงอายุ

(๓) โครงการของหนวยงานภาครัฐ ควรเปนโครงการใหมและเรงดวนที่ไมได ตังงบประมาณรองรับ และไมเปนโครงการตอเนื่อง

(๔) กรณีโครงการขององคกรภาคเอกชนหรือองคกรของผูสูงอายุที่ไมไดรับ การสนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการ และแหลงทุนอ่ืน ๆ เวนแตกรณีไดรับแตไมเพียงพอ

(๕) โครงการลักษณะอ่ืนๆที่คณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติหรือคณะกรรมการ เห็นสมควรใหการสนบสนุน

ขอ ๕ รายการคาใชจาย และวงเงินท่ีกองทุนใหก รายการและวงเงิน ดังนี้

ารสนับสนุนใหเปนไปตามอตรา

(๑) จายเปนเงินสนับสนุนเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนินการตาม

แผนงาน และโครงการในการสงเสริมการพ นาตนเองทง้ ทางดานการศึกษา สขภุ าพ สงคมั ศาสนา

ขอมูลสารสนเทศ ขาวสาร อาชีพ การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสงคม การสงเสริมบทบาทอาสาสมัคร การ รวมกลุมในลกษณะเครือขายชุมชน เชน

(ก) การสงเสริมการศึกษาและขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนสําหรับผูสูงอายุ โดยการ ผลิตและเผยแพรขอมูลความรูและขาวสาร รวมทั้งการเชิญผูที่มีความรูและประสบการณในดานตาง ๆ มา เปนวิทยากรในการอบรม บรรยาย อภิปราย การสาธิต เพื่อสรางความรูและเพิ่มทักษะดานตาง ๆ ใหกับ

ผ ูงอายุ และใหผ

ูงอายุรูเทาทันตอสถานการณความเปลี่ยนแปลงของโลกและสงั คมปจจุบัน

(ข) การสงเสริมการจัดต้ังและพัฒนาระบบเฝาระวังเก้ือกูล และดูแลผูสูงอายุโดย

ชุมชน กตเวทีตอผ

(ค) การรณรงคและเสริมสรางความตระหนักเพื่อใหบุตรหลานไดแสดงความกตัญู

ูงอายุในครอบครวั และชุมชน และเปนการอนุรกษว ัฒนธรรมประเพณีไทย

(ง) การสงเสริมกลุมกิจกรรมของผูสูงอายุ เพื่อเสริมสรางสุขภาพและคุณภาพชีวิต

ผูสูงอายุ โดยสงเสริมใหผูสูงอายุมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพ มีโอกาสรวมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ การออกกําลังกาย บริการตรวจสุขภาพ บริการดานการฟนฟูสมรรถภาพ การนวดแผนไทย และการสงเสริมการ ปองกันและการดูแลสุขภาพตนเอง

(จ) การสงเสริม และพัฒนาการดําเนินงานศูนย

เนกประสงคสําหร

ผูสูงอาย

(ฉ) การสงเสริมการมีสวนรวมในสังคม ดวยการสงเสริมและสนับสนุนใหผูสูงอาย

เขามาเปนอาสาสมัครและรวมบําเพ็ญประโยชน อชุมชนและสังคมโดยรวม และการเผยแพรความรู ภูม

ปญญา และประสบการณของผูสูงอายุใหกับชุมชน

(ช) การฝกอาชีพ เปนการสรางโอกาสใหผูสูงอายุไดรับการพัฒนาทักษะดานอาชีพ และมีรายได โดยมีการรวมกลุมจัดทํากิจกรรม เชน งานเกษตรกรรม งานประดิษฐสําหรับผูสูงอายุเปนการ สงเสริมใหผูส ูงอายุไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน และมีรายไดเสริม การจัดหาตลาดจําหนายผลิตภัณฑ

(ซ) การสงเสริมสนับสนุนการจัดตั้งหรือการพัฒนาเครือขายในการดูแลผูสูงอายุใน ชุมชน การสงเสริมบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บานหรือชุมชน เพ่ือใหผูสูงอายุที่มีปญหาการ ชวยเหลือตนเองไดรบการดูแลเบื้องตน และเปนการพฒนาศักยภาพผูสูงอายุ ครอบครวั และชุมชน

(ฌ) การสงเสริมสนับสนุนเครือขายองคกรชมรม ศูนยผูสูงอายุ โดยการจัดประชุม สัมมนา การสนับสนุนกิจกรรมการสรางความเขมแข็งใหแกผนู ําองคกรของผูสูงอายุและเครือขาย

(ญ) การศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรทู ี่เกี่ยวของกับผูส ูงอายุ

(ฎ) การจัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุในที่สาธารณะ

(๒) จายเปนเงินชวยเหลือผูสูงอายุที่ไดรับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือ ถูกแสวงหาประโยชนโดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง รวมทั้งประสบปญหาความเดือดรอนเร่ืองที่ พัก อาหาร หรือเคร่ืองนุงหม เชน

(ก) การอุปการะผูสูงอายุในรูปแบบสถานสงเคราะหหรือศูนยบริการผูสูงอายุ

(ข) การสรางหรือปรับปรุงที่อยูอาศัยผูสูงอายุท่ีประสบปญหาความเดือดรอน เรื่องท่ีพักในชุมชน เปนการใหความชวยเหลือในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ เพื่อการซอมแซม ปรับปรุงที่พัก อาศัยของผูสูงอายุกลุมผูดอยโอกาสในชุมชน เพ่ือชวยใหผูสูงอายุมีสุขภาพกายและจิตที่ดี อยูใน สภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมและปลอดภัย รายละไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท

(ค) การชวยเหลือผูสูงอายุประสบปญหาความเดือดรอนเรื่องอาหาร หรือ เคร่ืองนุงหม โดยชวยเปนเงินหรือส่ิงของ รายละไมเกิน ๒,๐๐๐ บาท ชวยไดไมเกิน ๓ ครั้งตอหนึ่ง ปงบประมาณ

(๓) จายเปนเงินกูใหผูสูงอายุไดกูยืมเงิน เพื่อเปนทุนประกอบอาชีพโดยใหกูยืมเปน รายบุคคลไดคนละไมเกิน ๑๕,๐๐๐ บาท หรือกูยืมเปนรายกลุม ๆ ละไมนอยกวา ๕ คน ไดกลุมละไมเกิน

๑๐๐,๐๐๐ บาท และใหชําระคืนเปนรายงวด ภายในระยะเวลาไมเกิน ๓ ป โดยไมคิดดอกเบี้ย ทั้งนี้ ผูขอ กูยืมเงินตองไมไดร ับความชวยเหลือจากแหลงทุนอื่น หรือไดรับแตไมเพียงพอ

(๔) จายเปนเงินอุดหนุนองคกรที่ดําเนินการเกี่ยวกับการใหคําแนะนําปรึกษา หรือ ดําเนินการอื่นท่ีเกี่ยวของในทางคดี รวมทั้งการแกไขปญหาครอบครัว โดยการชวยเหลือเปนคาฤชาธรรม เนียมศาล และคาใชจายอื่นๆ ที่จําเปนเกี่ยวกับการดําเนินคดี ทั้งน้ี ใหขออนุมัติจากคณะกรรมการเปนรายคดี ไป

(๕) จายเปนคาใชจายในการดําเนินงานของกองทุน เชน การบริหารกองทุน การจัดหา ผลประโยชน การติดตามประเมินผลและตรวจสอบ การดําเนินงานของกองทุนตามที่คณะกรรมการ เห็นสมควร

(๖) จายเปนคาใชจ ายในเร่ืองอื่น ๆ เพ่ือการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนุน

ผูสูงอายุ ตามที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรแลวเสนอคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติใหความ เห็นชอบตอไป

ทังน้ี วงเงินและรายการคาใชจายตาม (๑) ถึง (๔) ใหเปนไปตามประกาศกําหนดวงเงินและ รายการคาใชจาย หากไมมีวงเงินและรายการคาใชจายที่ประกาศไว ใหนําอัตราและรายการตามระเบียบ ของทางราชการมาดําเนินงาน

ในกรณีที่อัตราวงเงินและรายการท่ีกําหนดไวต าม (๑) ถึง (๖) ไมสามารถใช ําเนินงาน

ไดอยางเพียงพอกับความจําเปน ให ําเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาเปนกรณีไป

๓๐๐,๐๐๐ บาท

ขอ ๖ กรอบวงเงินโครงการ ประกอบดวย

(๑) โครงการขนาดเล็ก หมายถึง โครงการท่ีขอสนับสนุนในวงเงินไมเกิน ๕๐,๐๐๐ บาท

(๒) โครงการขนาดกลาง หมายถึง โครงการท่ีขอสนับสนุนในวงเงินเกิน ๕๐,๐๐๐ ถึง (๓) โครงการขนาดใหญ หมายถึง โครงการที่ขอสนับสนุนในวงเงินเกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท ขึนไป

ขอ ๗ การเสนอโครงการ หรือคําขอกูยืมเงิน หรือคําขอสนับสนุนเปนรายบุคคล หรือรายกลุมใหเปนไปตามแบบเอกสารที่ผอู ํานวยการกําหนด

ขอ ๘ การยื่นขอรับการสนับสนุนจากกองทุน

(๑) กรณีผูมีภูมิลําเนาหรือที่ตั้งของสํานักงานอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นตอ สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คน พิการ และผูส ูงอายุ

(๒) กรณีผูมีภูมิลําเนาหรือที่ตั้งของสํานักงานอยูในสวนภูมิภาค ใหย่ืนตอสํานักงานพัฒนา สงคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

ให ํานักงานตามวรรคหน่ึง ทําหนาที่ตรวจสอบและวิเคราะหความเปนไปไดของ

โครงการ หรือความจําเปนและเหมาะสมของคําขอเปนรายบุคคลหรือรายกลุม พรอมทั้งเสนอความคิดเห็น ประกอบการพิจารณาตอคณะกรรมการดวย

ขอ ๙ การรายงาน และการติดตามผลใหเปนไปตามแบบที่ผูอ ํานวยการกําหนด

ประกาศ ณ วนที่ ๗ มิถนายุ น พ.ศ. ๒๕๔๙

(นายวลลภ พลอยทับทิม) ปลัดกระทรวงการพฒนาสังคมและความมน

คงของมนุษย

ประธานกรรมการบริหารกองทุนผูสูงอายุ

มาตรา ๑๗ ผู้อุปการะเล้ียงดูบุพการีซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้

เพยี งพอแก่การยงั ชพี ผนู้ นั้ มสี ทิ ธไิ ด้รบั การลดหย่อนภาษี

ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก�าหนดใน ประมวลรัษฎากร

หนา ๑๓

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๓ มกราคม ๒๕๔๘

พระราชบัญญัติ

แกไขเพิ่มเติมประมวลร ฎากร (ฉบับที่ ๓๖)

พ.ศ. ๒๕๔๘

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนปที่ ๖๐ ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให ประกาศวา

โดยทเปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมประมวลรษฎากร พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา

๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ และมาตรา ๔๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําได โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๖) พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

หนา ๑๔

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๓ มกราคม ๒๕๔๘

มาตรา ๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปน (ญ) ของ (๑) ในมาตรา ๔๗ แหงประมวลรัษฎากร ซึ่งแกไข เพิ่มเติมโดยพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมประมวลรษฎากร (ฉบบที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๓๔

“(ญ) คาอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาของผูมีเงินได รวมทั้งบิดามารดาของสามีหรือภริยาของผูมีเงินได คนละสามหมื่นบาทโดยบุคคลดังกลาวตองมีอายุหกสิบปขึ้นไป มีรายไดไมเพียงพอแกการยังชีพ และอยูใน

ความอุปการะเลี้ยงดูของผูมีเงินได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง นไขที่อธิบดีประกาศกําหนด

คาอุปการะเลี้ยงดูตามวรรคหนึ่ง ใหหักลดหยอนสําหรับเงินไดพึงประเมินประจําป พ.ศ. ๒๕๔๗ ที จะตองยนรายการในป พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนไป”

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

หนา ๑๕

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๓ มกราคม ๒๕๔๘

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๑๗ แหงพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดใหผูอุปการะเลี้ยงดูบุพการีซึ่งเปนผูสูงอายุที่ไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพ มีสิทธิไดรับการ หักลดหยอนภาษีตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในประมวลรัษฎากร ดังนั้น เพื่อเปนการสงเสริมและ สนับสนุนการอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาผูใหกําเนิดบุตร สมควรกําหนดใหผูมีเงินไดซึ่งอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา ของตนหรือบิดามารดาของสามีหรือภริยาของตนสามารถนําคาอุปการะเลี้ยงดูดังกลาวมาหักลดหยอนในการคํานวณ ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

หนา ๔๖

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๒๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ เมษายน ๒๕๔๘

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร

เกี่ยวกับภาษีเงินได (ฉบับท่ี ๑๓๖)

เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการหักลดหยอนคาอุปการะเลีย้ งดู บิดา มารดาของผูมีเงินได รวมทง้ บิดา มารดาของสามีหรือภริยาของผูมีเงินได ตามมาตรา ๔๗ (๑) (ญ) แหงประมวลรษฎากร

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๑) (ญ) แหงประมวลรัษฎากร ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ๓๖) พ.ศ. ๒๕๔๘ อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการหักลดหยอนคาอุปการะเล้ียงดูบิดา มารดาของผูมีเงินได รวมท้ังบิดา มารดาของสามีหรือภริยาของผูมีเงินได ดงตอไปนี้

ขอ ๑ การหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาของผูมีเงินได รวมท้ังบิดา มารดาของ สามีหรือภริยาของผูมีเงินได ตามมาตรา ๔๗ (๑) (ญ) แหงประมวลรัษฎากร ใหหักลดหยอนได ตาม หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไข ดงนี้

(๑) ใหหักลดหยอนไดคนละ ๓๐,๐๐๐ บาท สําหรับบิดา มารดาท่ีมีอายุหกสิบปข้ึนไป และอยู

ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู ีเงินได แตมิใหหกลั ดหยอนสําหรับบิดา มารดาดังกลาวที่มีเงินไดพึงประเมิน

ในปภาษีที่ขอหักลดหยอนเกิน ๓๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป

(๒) ผูมีเงินไดหรือสามีหรือภริยาของผูมีเงินไดจะตองเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของบิดา มารดา ท่ีผูมีเงินไดใชสิทธิหกลดหยอนคาอุปการะเลีย้ งดู

(๓) กรณีผูมีเงินไดหลายคนอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาคนเดียวกัน ใหผูมีเงินไดคนใดคนหนึ่ง เพียงคนเดียวที่มีหลักฐานรับรองการอุปการะเลี้ยงดูจากบิดา มารดาดังกลาวเปนผูมีสิทธิหักลดหยอน

คาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาดังกลาวน ในแตละปภาษ

(๔) การหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาดังกลาวใหหักไดตลอดปภาษี ไมวากรณีที่จะ หักลดหยอนไดนั้นจะมีอยูตลอดปภาษีหรือไม

(๕) กรณีสามีหรือภริยาเปนผูมีเงินไดฝายเดียว ใหผูมีเงินไดหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาของสามีหรือภริยาของผูมีเงินไดคนละ ๓๐,๐๐๐ บาท

หนา ๔๗

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๒๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๗ เมษายน ๒๕๔๘

(๖) กรณีผูมีเงินไดซ่ึงมีสิทธิหักลดหยอนอยูแลว ตอมาไดสมรสกันใหยังคงหักลดหยอนได

ดังน

(ก) ถาความเปนสามี ภริยามิไดมีอยูตลอดปภาษีท่ีขอหักลดหยอน ใหตางฝายตางหัก

ลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาของตน คนละ ๓๐,๐๐๐ บาท

(ข) ถาความเปนสามี ภริยาไดมีอยูตลอดปภาษีที่ขอหักลดหยอน และภริยาไมใชสิทธิ แยกย่ืนรายการและเสียภาษีตางหากจากสามี ตามมาตรา ๕๗ เบญจ แหงประมวลรัษฎากร ใหหักลดหยอน คาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาของผูมีเงินได รวมทั้งบิดา มารดาของภริยาของผูมีเงินไดคนละ ๓๐,๐๐๐ บาท (ค) ถาความเปนสามี ภริยาไดมีอยูตลอดปภาษีที่ขอหักลดหยอน และภริยาใชสิทธิแยก ยื่นรายการและเสียภาษีตางหากจากสามี ตามมาตรา ๕๗ เบญจ แหงประมวลรัษฎากร ใหสามีและภริยา

ตางฝายตางหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดาของตน คนละ ๓๐,๐๐๐ บาท

(๗) กรณีผูมีเงินไดมิไดเปนผูอยูในประเทศไทย ใหหักลดหยอนคาอุปการะเล้ียงดูบิดา มารดา ไดเฉพาะบิดา มารดาท่ีอยูในประเทศไทย

ขอ ๒ การหักลดหยอนตามประกาศนี้ ผูมีเงินไดตองระบุเลขประจําตัวประชาชนตามกฎหมาย วาดวยการทะเบียนราษฎรของบิดา มารดาที่ผูมีเงินไดใชสิทธิหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดูในแบบแสดง รายการภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาดวย

ขอ ๓ การหักลดหยอนตามประกาศน ผูมีเงินไดตองมีหลักฐานรับรองการอุปการะเลี้ยงดู

จากบิดา มารดาท่ีผูมีเงินไดใชสิทธิหักลดหยอนคาอุปการะเลี้ยงดู

ขอ ๔ ประกาศนี้ใหใชบังคับต้งแตวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ศิโรตม สวัสดิ์พาณิชย อธิบดีกรมสรรพากร

หน้า ๕๖

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๒๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ มีนาคม ๒๕๖๐

พระราชกฤษฎีกา

ออกตามความในประมวลรัษฎากร

ว่าด้วยการยกเว รษฎากร (ฉบบทั ี่ ๖๓๙)

พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

ใหไว้ ณ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า

โดยท่ีเป็นการสมควรยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทหรือห้างห ส่วนนติ ิบุคคล บางกรณ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และมาตรา ๓ (๑) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ แก้ไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๔๙๖ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกาน้ีเรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร

ว่าด้วยการยกเว

รัษฎากร (ฉบับท

๖๓๙) พ.ศ. ๒๕๖๐”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

มาตรา ๓ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ตามส่วน ๓ หมวด ๓ ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งรับผู้สูงอายุที่มีอายุหกสิบปีข้ึนไปเข้าทํางานสําหรับเงินได้เป็น จํานวนร้อยละหนึ่งร้อยของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุ เฉพาะรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็น ค่าใช้จ่ายในการจางผู้สูงอายุในส่วนที่ไม่เกินรอยละสิบของจํานวนลูกจ้างในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น

หน้า ๕๗

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๒๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ มีนาคม ๒๕๖๐

สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ทั้งน วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด

ตามหลักเกณฑ

ในกรณีท่ีผู้สูงอายุทํางานในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหลายแห่งในเวลาเดียวกัน ให้บริษัท

หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่รับผ ูงอายุเข้าทํางานก่อนได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินไดตามวรรคหน่้ ึง

การจ้างผู้สูงอายุตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงกรณีการจ้างผู้สูงอายุที่มีรายจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้าง ในแต่ละเดือนเกินกว่าหน่ึงหม่ืนหา้ พันบาท

มาตรา ๔ ผู้สูงอายุตามมาตรา ๓ ต

งมีคุณสมบ

ิ ดงต่อไปน

(๑) เป็นผ ีสัญชาติไทย

(๒) เป็นลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีจ้างอยู่ก่อนแล้ว หรือเป็นผู้สูงอายุที่ได้ ขึนทะเบียนหางานไว้กับกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน

(๓) ไม่เป็นและไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จ้าง

ผ ูงอายุดงกล่าวหรือบริษทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน

มาตรา ๕ ให้รฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

ผูร้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

เล่ม ๑๓๔ ตอนท

หน้า ๕๘

๒๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ มีนาคม ๒๕๖๐

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งรับผู้สูงอายุท่ีมีอายุหกสิบปีข้ึนไปเข้าทํางาน เพื่อส่งเสริมให้มีการจ้าง

แรงงานผ ูงอายดงุ กล่าวเข้าทํางาน จึงจําเป็นตองตราพระราชกฤษฎ้ ีกาน

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร

เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 290)

เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเวน

ภาษีเงินไดข

องบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน

นิติบุคคล ส าหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจางผู้สูงอายุที่มีอายุหกสิบปีขึ้นไป

อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 639) พ.ศ. 2560 อธิบดีกรมสรรพากรก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ส าหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่าย เป็นค่าจ้างผู้สูงอายุที่มีอายุหกสิบปีขึ้นไปเข้าท างาน ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ในประกาศนี้

“ผู้สูงอายุ” หมายความว่า ลูกจ้างผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีคุณสมบัติตาม มาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 639)

พ.ศ. 2560

“รายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุ” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน ประโยชน์ ที่ค านวณได้เป็นเงิน ภาษีอากรที่ผู้จ่ายออกแทนให้ บรรดาที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงานซึ่งเป็นเงินได้ พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร เงินที่จ่ายสมทบเข้ากองทุนส ารองเลี้ยงชีพ แต่ไม่รวมถึง รายจ่ายที่ต้องจ่ายตามที่กฎหมายก าหนดขึ้นโดยเฉพาะ เช่น เงินที่จ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม กองทุนส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เป็นต้น

ข้อ 2 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะน ารายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุ ไปใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 639) พ.ศ. 2560 ได้ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้

(1) จ านวนรายจ่ายที่จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้จะต้องเกิดจากการจ้างผู้สูงอายุเข้าท างาน เป็นลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล โดยจ านวนรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้าง ผู้สูงอายุ และจ านวนผู้สูงอายุนั้น ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้

/ (ก) ...

2

(ก) เป็นรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุในรายที่มีจ านวนไม่เกิน 15,000 บาท ในแต่ละเดือน

(ข) จ านวนผู้สูงอายุที่จะน ามาเป็นฐานในการค านวณหารายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่าย ในการจ้างผู้สูงอายุที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถน ามาใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นั้น ได้แก่ จ านวน ผู้สูงอายุที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุตาม (ก) ที่ท างานเต็มเดือนในแต่ละเดือน ท้ังนี้ เฉพาะส่วนท่ีไม่เกินร้อยละสิบของจ านวนลูกจ้างท้งหมดที่ท างาน

เต็มเดือนในประเทศไทยในแตล

ะเดือนในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิตบ

ุคคลนั้น โดยใหค านวณหาจ านวนผู้สูงอาย

ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีสิทธิน ามายกเว้นภาษีเงินได้เป็นรายเดือน

การค านวณหาจ านวนผู้สูงอายุตามวรรคหนึ่ง หากปรากฏว่า การค านวณหาจ านวน ผู้สูงอายุท่ีจะใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ได้ผลลัพธ์ไม่ลงตัว ปรากฏเศษในการค านวณ และเศษของผลลัพธ์ มีจ านวนตั้งแต่ 0.5 ให้ปัดเศษข้ึนไปให้ได้จ านวนเต็มและให้ถือเป็นจ านวนผู้สูงอายุที่จะเป็นฐานในการ ค านวณหารายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุที่จะได้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้

(2) ต้องจัดท ารายงานเกี่ยวกับการจ้างผู้สูงอายุที่จะน ามาใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ส าหรับ รายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุ ซึ่งมีรายการและข้อความอย่างน้อยตามแบบที่แนบท้าย ประกาศนี้ และเก็บรักษารายงานดังกล่าว รวมทั้งเอกสารประกอบการลงรายการในรายงานไว้ ณ สถานประกอบการ พร้อมที่จะให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบได้

(3) ตองแจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะน ามาใช้สิทธิยกเว้น ภาษีเงินได้ส าหรับรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้สูงอายุในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีต่ออธิบดี กรมสรรพากรภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร http://www.rd.go.thโดยต้องแจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุอย่างน้อย ตามที่ก าหนดในเว็บไซต์ดังกล่าว

การแจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุตามวรรคหนึ่ง ส าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่มีวันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดก่อนหรือในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2560 ให้แจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุภายใน

วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2560

“การแจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุตามวรรคหนึ่ง ส าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่มีวันสุดท้าย แห่งก าหนดเวลาในการแจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุในหรือหลังวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2563 แต่ไม่เกินวันที่

31 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ให้แจ้งข้อมูลของผู้สูงอายุภายในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2563”

(แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 379)ฯ ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2563)

ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. ๒๕60 ประสงค์ พูนธเนศ

(นายประสงค์ พูนธเนศ)

อธิบดีกรมสรรพากร

**กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
**

หนา ๔๙

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๓

พระราชกฤษฎีกา

ก˚าหนดคุณสมบัติของบคคล ซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกนตน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

ให้ไว้ ณ วนที่ ๒๐ มิถนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นปีที่ ๕ ในรัชกาลปัจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการก˚าหนดคุณสมบัติของบุคคล ซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน

อาศัยอ˚านาจตามความในมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ประกันสังคม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาก˚าหนดคุณสมบัติของบุคคล ซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓”

หนา ๕๐

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๓

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎีกาก าหนดคุณสมบัต ของบุคคลซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน พ.ศ. ๒๕๖๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“(๔) มีอายุไม่ต่ ากว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์”

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี

หนา ๕๑

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๔๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๓

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติม คุณสมบัติของบุคคลซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน โดยก าหนดให้บุคคลซึ่งอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มีอายุไม่ต่ ากว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และ ไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันที่มีอายุยืนยาวมากขึ้น อันจะเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้มีความยั่งยืนในการด ารงชีวิต จึงจ าเป็นต้องตรา พระราชกฤษฎีกานี้

หนา ๗

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

กฎกระทรวง

ก ำหนดให้กิจกำรกำรดแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง

เป็นกิจกำรอื่นในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ พ.ศ. ๒๕๖๓

อำศัยอ ำนำจตำมควำมใน (๓) ของบทนิยำมค ำว่ำ “สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ” ในมำตรำ ๓ และมำตรำ ๔ วรรคหนึ่ง แห่งพระรำชบัญญัติสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ กฎกระทรวงน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก ำหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกำศใน รำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป

ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้

“กิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง” หมำยควำมว่ำ กิจกำรที่ให้บริกำรเกี่ยวกับ กำรดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภำพ หรือกำรประคับประคองผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงที่มีปัญหำด้ำนสุขภำพ โดยวิธีกำรจัดกิจกรรมในระหว่ำงวัน หรือกำรช่วยเหลือในกำรด ำรงชีวิต หรือกำรจัดสถำนที่เพื่อพ ำนัก อำศัย หรือสถำนที่บริบำลดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง เว้นแต่เป็นกำรด ำเนินกำรในสถำนพยำบำล ตำมกฎหมำยว่ำด้วยสถำนพยำบำล

ข้อ ๓ ให้กิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงเป็นกิจกำรอื่นในสถำนประกอบกำร เพื่อสุขภำพ

ข้อ ๔ กิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงแบ่งลักษณะกำรให้บริกำรออกเป็นสำมลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) กำรให้บริกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงระหว่ำงวัน ที่มีกำรจัดกิจกรรมกำรดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพแก่ผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง โดยไม่มีกำรพักค้ำงคืน

(๒) กำรให้บริกำรดูแลผู้สูงอำยุ ที่มีกำรจัดกิจกรรมส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภำพแก่ผู้สูงอำยุ โดยจัดให้มีที่พ ำนักอำศัย

(๓) กำรให้บริกำรดูแลและประคับประคองผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ที่มีกำรจัดกิจกรรม กำรดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพแก่ผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง โดยมีกำรพักค้ำงคืน

หนา ๘

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

ข้อ ๕ ผู้ซึ่งประกอบกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง รวมทั้งผู้ปฏิบัติงำนในกิจกำร ดังกล่ำว อยู่ในวันก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ ซึ่งประสงค์จะประกอบกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือ ผู้มีภำวะพึ่งพิง ให้ยื่นค ำขอรับใบอนุญำตประกอบกิจกำร ค ำขอรับใบอนุญำตเป็นผู้ด ำเนินกำร หรือค ำขอ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริกำรต่อผู้อนุญำตภำยในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ

และเมื่อยื่นค ำขอรบใบอนญำตหรือคำขอขึ้นทะเบียนแล้ว ให้ประกอบกิจกำร ด ำเนินกำร หรือให้บรกำร ต่อไปได้จนกว่ำจะได้รับแจ้งค ำสั่งไม่ออกใบอนุญำตหรือไม่รับขึ้นทะเบียนจำกผู้อนุญำต แล้วแต่กรณี

ให้ไว้ ณ วนที่ 20 กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๖3 อนุทิน ชำญวรกูล รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข

หนา ๙

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ประเทศไทยได้เข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ และในภำยภำคหน้ำจะมีผู้สูงอำยุเพิ่มขึ้นอีกเป็นจ ำนวนมำกที่จ ำเป็นต้องได้รับกำรช่วยเหลือ ดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพ ประกอบกับในปัจจุบันมีสถำนประกอบกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะ พึ่งพิงเพิ่มขึ้นเป็นจ ำนวนมำก เพ่ือให้ควำมช่วยเหลือ ดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพให้แก่ผู้สูงอำยุ หรือผู้ที่มีภำวะพึ่งพิงซึ่งไม่สำมำรถช่วยเหลือตนเองได้ ซ่ึงกำรให้บริกำรในกำรช่วยเหลือ ดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพแก่ผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงที่ไม่เป็นไปตำมมำตรฐำนและหลักวิชำกำรอำจส่งผลให้ เกิดอันตรำยต่อผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงที่มำรับบริกำรได้ ดังนั้น เพื่อให้กำรประกอบกิจกำรกำรดูแล ผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงต้องด ำเนินกำรโดยมีมำตรฐำน มีกำรให้บริกำรโดยผู้ที่มีควำมรู้ควำมช ำนำญ และผ่ำนกำรอบรมเพื่อดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงโดยเฉพำะ และมีกำรช่วยเหลือ ดูแล ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภำพผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงได้อย่ำงปลอดภัย สำมำรถด ำเนินชีวิตอย่ำงมีคุณภำพ ตำมศักยภำพของแต่ละบุคคลได้ จึงสมควรก ำหนดให้กิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง เป็นกิจกำรอื่นในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ เพื่อให้อยู่ภำยใต้กำรควบคุมก ำกับดูแลตำมกฎหมำย ว่ำด้วยสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ จึงจ ำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

หนา ๑๐

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

กฎกระทรวง

ก ำหนดมำตรฐำนดำนสถำนที่ ควำมปลอดภัย และกำรให้บริกำร

ในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดแ

พ.ศ. ๒๕๖๓

ลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง

อำศัยอ ำนำจตำมควำมในมำตรำ ๔ วรรคหนึ่ง และมำตรำ ๒๖ แห่งพระรำชบัญญัติ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

หมวด ๑ มำตรฐำนดำนสถำนที่

ข้อ ๑ สถำนประกอบกำรเพ่ือสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพ่ึงพิง ต้องมีลักษณะโดยทั่วไปด้ำนสถำนที่ ดังต่อไปนี้

(๑) ตั้งอยู่ในพื้นที่ซึ่งมีสภำพแวดล้อมที่มีควำมปลอดภัยไม่เป็นอันตรำยต่อสุขภำพ และมีทำง ที่ใช้ในกำรเข้ำและออกโดยสะดวก

(๒) มีอำคำร สถำนที่ และสภำพแวดล้อมที่เหมำะสมแก่ผู้รับบริกำร รวมทั้งต้องปลอดจำก เหตุร ำคำญที่อำจรบกวนควำมเป็นอยู่ที่สุขสบำย ซึ่งต้องด ำเนินกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วย กำรควบคุมอำคำร หรือกฎหมำยว่ำด้วยกำรสำธำรณสุข

(๓) พื้นที่ที่ให้บริกำรทั้งภำยในและภำยนอกสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพมีลักษณะ ดังนี้ (ก) มีควำมกว้ำงของทำงเดินไม่น้อยกว่ำเก้ำสิบเซนติเมตร

(ข) มีกำรท ำควำมสะอำดและจัดสถำนที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย

(ค) กรณีใช้พ้ืนที่ประกอบกิจกำรอยู่ในอำคำรเดียวกันกับกำรประกอบกิจกำรอื่น ต้องมีกำรแบ่งเขตพื้นที่บริเวณที่ให้บริกำรอย่ำงชัดเจน และกำรประกอบกิจกำรอื่นต้องไม่รบกวน ต่อกำรให้บริกำรในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ

(ง) มีพื้นที่ส่วนกลำงแก่ผู้รับบริกำรและเจ้ำหน้ำที่ส ำหรับกำรประกอบกิจกรรมหรือ สันทนำกำรที่หลำกหลำย

หนา ๑๑

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

(๔) กรณีสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพมีกำรให้บริกำรหลำยลักษณะรวมอยู่ในอำคำรหรือ สถำนที่เดียวกัน จะต้องมีกำรแบ่งสัดส่วนกำรให้บริกำรให้ชัดเจน และแต่ละสัดส่วนจะต้องมีพื้นที่และ ลักษณะตำมมำตรฐำนกำรให้บริกำรแต่ละลักษณะ

(๕) มีหน่วยบริกำรในกำรประสำนงำน แจ้งเหตุเตือนภัย อ˚ำนวยควำมสะดวก และอื่น ๆ (๖) มีกำรจัดกำรมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้˚ำเสีย ที่เหมำะสมตำมกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง

(๗) มีระบบกำรควบคุมพำหะน˚ำโรคตำมหลักสุขำภิบำล

(๘) พื้นที่บริเวณที่ให้บริกำรต้องมีแสงสว่ำงและกำรระบำยอำกำศที่เพียงพอและไม่มีกลิ่นอับทึบ (๙) ห้องน้˚ำมีลักษณะ ดังนี้

(ก) ประตูเป็นแบบเปิดออกภำยนอกหรือแบบบำนเลื่อน ขนำดกว้ำงสุทธิไม่ต่˚ำกว่ำเก้ำสิบ เซนติเมตร มือจับแบบก้ำนโยกหรือแกนผลักและสำมำรถเปิดจำกภำยนอกได้ ไม่ติดอุปกรณ์บังคับประตไู ดเ้ อง และไม่มีธรณีประตู

(ข) ระดับพื้นผิวภำยในห้องน้˚ำรำบเรียบเสมอกัน มีระดับเสมอกับพื้นภำยนอก ไม่ลื่น และไม่มีน้˚ำท่วมขัง

(ค) โถส้วมชนิดนั่งรำบ สูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำสี่สิบเซนติเมตร แต่ไม่เกินสี่สิบห้ำเซนติเมตร มีพนักพิง และมีรำวจับชิดผนังอย่ำงน้อยหนึ่งด้ำนเพื่อช่วยกำรพยุงตัว

(ง) อ่ำงล้ำงมือ สูงจำกพ้ืนไม่เกินแปดสิบเซนติเมตร มีรำวจับที่ด้ำนข้ำงของอ่ำง เพื่อช่วยกำรพยุงตัวขณะยืน ก๊อกน้˚ำเป็นชนิดก้ำนโยก ก้ำนหมุน หรือระบบอัตโนมัติ

(จ) บริเวณที่อำบน้˚ำ ที่นั่งส˚ำหรับอำบน้˚ำสูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำสี่สิบเซนติเมตร แต่ไม่เกิน สี่สิบห้ำเซนติเมตร ต้องมีพนักพิงที่มั่นคง มีรำวจับที่ด้ำนข้ำงของที่นั่งเพื่อช่วยกำรพยุงตัว ก๊อกน้˚ำ ของฝักบัวเป็นชนิดก้ำนโยก ก้ำนหมุน หรือระบบอัตโนมัติ

(ฉ) ติดตั้งสัญญำณเรียกฉุกเฉินในห้องน้˚ำ (ช) มีระบบท˚ำน้˚ำอุ่นที่ปลอดภัย

(ซ) มีรำวจับตั้งแต่ประตูไปจนถึงโถส้วมและบริเวณที่อำบน้˚ำ

(๑๐) กำรเดินสำยไฟเป็นระเบียบ ใช้สำยไฟถูกประเภท และมีกำรปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์กำรใช้ไฟฟำ้ อย่ำงปลอดภัย ดังนี้

(ก) สวิตช์และสำยไฟได้รับกำรบ˚ำรุงรักษำให้อยู่ในสภำพดีและปลอดภัย (ข) มีเส้นหรือขอบเขตแสดงบริเวณที่อำจมีอันตรำยหรือห้ำมเข้ำใกล้ (ค) มีอุปกรณ์ตัดไฟรองรับกรณีเกิดไฟช็อตหรือรั่ว

(ง) มีระบบไฟฟ้ำส่องสว่ำง มีหลอดไฟติดตั้งไว้ทั้งในส่วนที่นอน ห้องน้˚ำ และพื้นที่

ใช้สอยทั่วไป

(๑๑) เครื่องเรือนต้องมีควำมปลอดภัยในกำรใช้สอย ไม่ก่อให้เกิดอันตรำย ถ้ำมีมุมแหลม ต้องติดตั้งยำงกันกระแทก

หนา ๑๒

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

ข้อ ๒ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงที่มี ลักษณะเป็นกำรให้บริกำรดูแลผู้สูงอำยุโดยจัดให้มีที่พ ำนักอำศัย นอกจำกต้องมีลักษณะตำมข้อ ๑ แล้ว ต้องจัดให้มีหน่วยบริกำรในกำรประสำนงำน แจ้งเหตุเตือนภัย อ ำนวยควำมสะดวก และจัดบริกำร ระหว่ำงผู้ให้บริกำรและผู้รับบริกำรตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง

ข้อ ๓ สถำนประกอบกำรเพ่ือสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพ่ึงพิง ที่มีลักษณะเป็นกำรให้บริกำรดูแลและประคับประคองผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงโดยมีกำรพักค้ำงคืน นอกจำกต้องมีลักษณะตำมข้อ ๑ และข้อ ๒ แล้ว ต้องจัดให้มีควำมกว้ำงระหว่ำงเตียงไม่น้อยกว่ำ เก้ำสิบเซนติเมตร

หมวด ๒ มำตรฐำนดำนควำมปลอดภัย

ข้อ ๔ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ต้องมีลักษณะโดยทั่วไปด้ำนควำมปลอดภัย ดังต่อไปนี้

(๑) มีอุปกรณ์ปฐมพยำบำลและคู่มือกำรปฐมพยำบำลไว้ในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพและ พร้อมใช้งำนได้ตลอดเวลำ

(๒) มีป้ำยหรือข้อควำมเพ่ือแสดงหรือเตือนให้ผู้รับบริกำรระมัดระวังอันตรำยหรือบริเวณ ที่มีควำมเสี่ยงต่อกำรเกิดภัยอันตรำย รวมถึงกำรติดตั้งเครื่องป้องกันไม่ให้ผู้รับบริกำรเกิดอันตรำย

(๓) มีระบบป้องกันและควบคุมกำรติดเชื้อที่เหมำะสม

(๔) มีระบบสัญญำณเตือนเพลิงไหม้ และติดตั้งเครื่องดับเพลิงไว้ในต ำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน อย่ำงน้อยหนึ่งเครื่อง กรณีสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพที่มีพื้นที่กำรให้บริกำรมำกกว่ำหนึ่งชั้น ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงไว้ในต ำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน อย่ำงน้อยชั้นละหนึ่งเครื่อง

(๕) มีระบบไฟฟ้ำส่องสว่ำงส ำรองตำมช่องทำงเดิน

(๖) มีกำรฝึกอบรมผู้ด ำเนินกำรและพนักงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย ปีละหนึ่งครั้ง

(๗) มีแนวปฏิบัติกำรป้องกันภำวะเสี่ยงและภำวะฉุกเฉิน

(๘) มีพนักงำนที่ได้รับกำรอบรมกำรช่วยฟื้นคืนชีพ และมีกำรฝึกซ้อมอย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง (๙) มีมำตรกำรตรวจสอบระบบควำมปลอดภัยในกำรให้บริกำรปีละหนึ่งครั้ง

ข้อ ๕ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ที่มีลักษณะเป็นกำรให้บริกำรดูแลผู้สูงอำยุโดยจัดให้มีที่พ ำนักอำศัย หรือกำรให้บริกำรดูแลและ ประคับประคองผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงโดยมีกำรพักค้ำงคืน นอกจำกต้องมีลักษณะตำมข้อ ๔ แล้ว ต้องมีลักษณะเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้

หนา ๑๓

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

(๑) มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ เช่น ถุงลมช่วยหำยใจ หรืออุปกรณ์เปิดทำงเดินหำยใจ และสัญญำณเรียกฉุกเฉิน เช่น กริ่ง กระดิ่ง หรือสัญญำณเตือนภัย

(๒) มีเครื่องกระตุกหัวใจอย่ำงน้อยหนึ่งเครื่อง ติดตั้งในจุดที่มองเห็นได้ชัดเจน

หมวด ๓ มำตรฐำนดำนกำรให้บริกำร

ข้อ ๖ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ต้องมีลักษณะโดยทั่วไปด้ำนกำรให้บริกำร ดังต่อไปนี้

(๑) มีกำรจัดท ำทะเบียนประวัติของผู้รับบริกำรตำมแบบที่อธิบดีประกำศก ำหนด

(๒) มีกำรประเมินควำมต้องกำรกำรดูแลและควำมสำมำรถในกำรสื่อสำรของผู้รับบริกำร เมื่อแรกรับ โดยมีกำรประเมินซ้ ำทุกสำมเดือน

(๓) มีแนวทำงกำรปฏิบัติในกำรส่งเสริมสุขภำพ รวมถึงกำรฟ้ืนฟูสุขภำพของผู้รับบริกำร บนพื้นฐำนของแนวทำงกำรปฏิบัติที่ดีและมีหลักฐำนเชิงประจักษ์ที่ชัดเจน

(๔) ให้บริกำรดูแลผู้รับบริกำรให้สอดคล้องกับผลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติ กิจวัตรประจ ำวันพื้นฐำน และควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติกิจวัตรประจ ำวันที่ซับซ้อน

(๕) ให้บริกำรอำหำรที่สะอำดและปลอดภัย

(๖) ผู้รับบริกำรที่ต้องใช้ยำหรืออุปกรณ์สุขภำพประจ ำตัว ต้องได้รับกำรดูแลตำมมำตรฐำน อุปกรณ์เครื่องมือด้ำนสุขภำพที่ผ่ำนกำรพิจำรณำจำกแพทย์ผู้ดูแลแล้ว

(๗) มีกิจกรรมสร้ำงเสริมสุขภำพแบบองค์รวม รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมสัมพันธภำพในสังคม ตำมควำมเหมำะสมแก่ผู้รับบริกำร และสำมำรถเลือกตำมควำมพอใจ หรือตำมควำมสำมำรถของ แต่ละบุคคล เพื่อพัฒนำคุณค่ำในตัวเองและสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตของผู้รับบริกำร

(๘) มีกำรบันทึกและติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงทำงสุขภำวะของผู้รับบริกำร

(๙) แสดงรำยกำรให้บริกำรและอัตรำค่ำบริกำรไว้ในที่เปิดเผย มองเห็นได้ง่ำยและสำมำรถ ตรวจสอบได้

(๑๐) มีกำรท ำสัญญำหรือข้อตกลงกำรให้บริกำรระหว่ำงผู้ประกอบกำรกับผู้รับบริกำร ญำติสำยตรง ผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้ซึ่งผู้รับบริกำรได้มอบหมำยเป็นลำยลักษณ์อักษร

(๑๑) ให้บริกำรโดยค ำนึงถึงควำมเป็นส่วนตัวและศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ ดังนี้

(ก) กำรให้บริกำรต้องยึดหลักควำมเป็นส่วนตัวและเป็นไปตำมควำมต้องกำรหรือ ควำมเต็มใจของผู้รับบริกำร

(ข) ต้องมีแนวทำงในกำรควบคุม ดูแล และป้องกัน ผู้รับบริกำรจำกกำรถูกกระท ำ ต่อร่ำงกำย จิตใจ กำรเงิน และด้ำนอื่น ๆ รวมทั้งกำรล่วงละเมิดทำงเพศ

หนา ๑๔

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

(ค) พนักงำนที่เกี่ยวข้องต้องผ่ำนกำรอบรมหลักสูตรที่จ ำเป็นต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่เพื่อให้มี ควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรป้องกันสิทธิและกำรให้ควำมคุ้มครองผู้สูงอำยุ

(ง) หำกมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภำพท่ีเป็นกำรพ ำนักระยะยำวหรือมีกิจกรรมพักค้ำงคืน ต้องจัดให้มีบุคลำกรเฝ้ำระวังหรืออยู่เวรยำมในตอนกลำงคืนอย่ำงเหมำะสม มีประสิทธิภำพ และ เพียงพอ

(จ) มีกำรรักษำควำมลับของผู้รับบริกำร โดยต้องไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวต่อ บุคคลภำยนอกในมำตรฐำนเดียวกับกำรรักษำสิทธิของผู้ป่วย

(ฉ) กำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสุขภำพและกำรดูแลต้องให้ข้อมูลแก่ผู้รับบริกำร ญำติสำยตรง ผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้ซึ่งผู้รับบริกำรได้มอบหมำยเป็นลำยลักษณ์อักษร

(๑๒) มีกำรแจ้งข้อมูลข่ำวสำร ดังนี้

(ก) ผู้รับบริกำรหรือผู้แทนต้องได้รับกำรแจ้งค่ำใช้จ่ำยในกำรรับบริกำรและค่ำใช้จ่ำย ในกำรเข้ำร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ ที่ผู้รับบริกำรสมัครใจเข้ำร่วม

(ข) ผู้รับบริกำรหรือผู้แทนต้องได้รับรู้กระบวนกำร ควำมก้ำวหน้ำในกำรส่งเสริมสุขภำพ ในปัจจุบัน และมีส่วนร่วมในกำรวำงแผนกำรดูแลขณะเกิดเหตุฉุกเฉินหรือกรณีที่เกิดกำรเจ็บป่วย กำรประสำนงำนกับสถำนพยำบำลที่รับส่งต่อ และกำรตรวจสอบสิทธิกำรรักษำพยำบำลกำรดูแล ในระยะยำวที่อำจจะเกิดขึ้น รวมถึงข้อมูลอื่นเกี่ยวกับสุขภำพของผู้รับบริกำร

(ค) ผู้รับบริกำรควรไดรับควำมรู้เกี่ยวกับสิทธิของตนเองและกำรดแ ศักยภำพและกำรส่งเสริมสุขภำพของตนเอง

(๑๓) มีระบบกำรส่งต่อในกรณีผู้รับบริกำรเกิดกำรเจ็บป่วยฉุกเฉิน

ลตนเองเพื่อกำรพัฒนำ

ข้อ ๗ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ที่มีลักษณะเป็นกำรให้บริกำรดูแลผู้สูงอำยุโดยจัดให้มีที่พ ำนักอำศัย นอกจำกต้องมีลักษณะตำมข้อ ๖ แล้ว ต้องมีกำรประสำนงำนกับสหสำขำวิชำชีพในกำรให้กำรดูแลด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพและกำรฟื้นฟู แก่ผู้รับบริกำร

ข้อ ๘ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพประเภทกิจกำรกำรดูแลผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิง ที่มีลักษณะเป็นกำรให้บริกำรดูแลและประคับประคองผู้สูงอำยุหรือผู้มีภำวะพึ่งพิงโดยมีกำรพักค้ำงคืน นอกจำกต้องมีลักษณะตำมข้อ ๖ แล้ว ต้องมีกำรประสำนงำนกับสหสำขำวิชำชีพในกำรให้กำรดูแล ด้ำนกำรส่งเสริมสุขภำพ กำรฟื้นฟู และกำรประคับประคองแก่ผู้รับบริกำรตำมแผนกำรรักษำของ ผู้ประกอบวิชำชีพ รวมทั้งต้องมีสัดส่วนของผู้ให้บริกำรหนึ่งคนดูแลผู้รับบริกำรไม่เกินห้ำคน

ให้ไว้ ณ วนที่ 20 กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๖3 อนุทิน ชำญวรกูล รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข

หนา ๑๕

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มำตรำ ๒๖ แห่งพระรำชบัญญัติ สถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพ พ.ศ. ๒๕๕๙ บัญญัติให้มำตรฐำนด้ำนสถำนที่ ควำมปลอดภัย และกำรให้บริกำรในสถำนประกอบกำรเพื่อสุขภำพแต่ละประเภทเป็นไปตำมที่ก˚ำหนดในกฎกระทรวง จึงจ˚ำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

หนา ๑๖

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

กฎกระทรวง

กําหนดค่าธรรมเนียมและการชําระค่าธรรมเนียม เกี่ยวกับการประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๒ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๑) และ (๒) ของข้อ ๑ แห่งกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียม และการชําระค่าธรรมเนียมเก่ียวกับการประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๑ ให้กําหนดค่าธรรมเนียม ดังต่อไปนี้

(๑) ใบอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพประเภทกิจการสปา และกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่มีการให้บริการดูแลผู้สูงอายุ โดยจัดให้มีที่พํานักอาศัย หรือที่มีการให้บริการดูแลและประคับประคองผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง โดยมีการพักค้างคืน

(ก) พื้นที่การให้บริการ

ไม่เกินหนึ่งร้อยตารางเมตร ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (ข) พื้นที่การให้บริการเกินหนึ่งร้อยตารางเมตร

แต่ไม่เกินสองร้อยตารางเมตร ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท (ค) พื้นที่การให้บริการเกินสองร้อยตารางเมตร

แต่ไม่เกินสี่ร้อยตารางเมตร ฉบับละ ๖,๐๐๐ บาท (ง) พื้นที่การให้บริการเกินสี่ร้อยตารางเมตร ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท

(๒) ใบอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทกิจการนวด เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมความงาม และกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่มีการให้บริการดูแล ผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงระหว่างวัน โดยไม่มีการพักค้างคืน

หนา ๑๗

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

(ก)พื้นที่การให้บริการ
ไม่เกินหนึ่งร้อยตารางเมตรฉบับละ๕๐๐ บาท
(ข)พื้นที่การให้บริการเกินหนึ่งร้อยตารางเมตร
แต่ไม่เกินสองร้อยตารางเมตรฉบับละ๑,๕๐๐ บาท
(ค)พื้นที่การให้บริการเกินสองร้อยตารางเมตร
แต่ไม่เกินสี่ร้อยตารางเมตรฉบับละ๓,๐๐๐ บาท
(ง)พื้นที่การให้บริการเกินสี่ร้อยตารางเมตรฉบับละ๕,๐๐๐ บาท”

ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๒/๑ แห่งกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมและ การชําระค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๐

“ข้อ ๒/๑ ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการประกอบกิจการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประเภทกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง สําหรับการดําเนินการโดยหน่วยงานของรัฐ มูลนิธิ หรือองค์การอื่นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการสาธารณกุศล”

ให้ไว้ ณ วนที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖3 อนุทิน ชาญวรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

หนา ๑๘

เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ได้มีการกําหนดให้กิจการการดูแล ผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง เป็นกิจการอ่ืนในสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ตามความใน (๓) ของบทนิยามคําว่า “สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมการกําหนดค่าธรรมเนียมและการชําระค่าธรรมเนียม เพ่ือให้ครอบคลุมสถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง ดังกล่าวด้วย จึงจําเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

หน้า ๔

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๗๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ระเบียบกรุงเทพมหานคร

ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๗

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์

อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๖ ข้อ ๗ และข้อ ๘ แห่งข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เร่ือง การจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงกําหนดระเบียบขึ้นไว้ ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๗”

ขอ้ ขอ้

พ.ศ. ๒๕๔๑

๒ ระเบียบนี้ใหใชบ้ ังคับต้ังแต่วันถัดจากวนประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

๓ ให้ยกเลิกระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห

ข้อ ๔ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคําสั่งอื่นใดในส่วนท่ีได้กําหนดไว้แล้วใน ระเบียบนี้ หรือซ่ึงขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน

ข้อ ๕ ประเภทค่าใช้จ่าย อัตราและหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเก่ียวกับการจัดสวัสดิการและ การสงเคราะห์ในการให้บริการตามประเภทการเงิน และประเภทสิ่งของให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ใน บัญชีท้ายระเบียบนี้

อัตราและหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายในแต่ละกรณี ให้คํานึงถึงงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร เพื่อการนี้ด้วย

ข้อ ๖ การจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ตามข้อ ๕ ให้ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม หรือผู้อํานวยการเขต แต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ผู้อํานวยการสํานักงานการสงเคราะห์ และสวัสดิภาพสังคมหรือผู้ช่วยผู้อํานวยการเขต แล้วแต่กรณี เป็นประธาน และกรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า สามคน โดยให้มีอํานาจหน้าที่ดําเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาอนุมัติให้ความช่วยเหลือหรือดําเนินการอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกบการจัดสวัสดิการหรือการสงเคราะห์

หน้า ๕

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๗๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ข้อ ๗ บรรดาเงินและทรัพย์สิน หรือดอกผลที่เกิดขึ้นจากเงินและทรัพย์สิน ท่ีหน่วยงานได้รับ จากผู้มอบให้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานหรือกรุงเทพมหานครใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์ไม่ต้องนําส่งเป็นรายรับหรือขึ้นทะเบียนเป็นทรัพย์สินของกรุงเทพมหานคร โดยให้ หน่วยงานนั้น ๆ จัดตงั เป็นกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์

การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการควบคุมเงินกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์ ให้ดําเนินการ ดงนี้

(๑) ทดรองจ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ที่มีความจําเป็นเร่งด่วนแล้วให้เบิกจ่ายเงิน งบประมาณชดใช้ทันที

(๒) ให้หวหน้าหน่วยงานเป็นผูม้ ีอํานาจอนุมัติการจ่ายเงินกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์

(๓) ให้หน่วยงานเก็บรักษาเงินกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์ไว้เป็นเงินสดเพื่อสํารองจ่ายได้ ภายในวงเงินไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท นอกนั้นให้นําฝากไว้กับธนาคารตามที่ราชการกําหนดไว้ และได้รับความเห็นชอบจากปลัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ชื่อบัญชีเงินฝากว่า “กองทุนสวัสดิการและ การสงเคราะห์” และให้ต่อท้ายด้วยชื่อหน่วยงาน

(๔) ให้หน่วยงานจัดทําบัญชีควบคุมการรับและการจ่ายเงิน เพื่อแสดงฐานะการเงิน ของกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์ รวมทังเก็บรกษาเอกสารใบสําคัญต่าง ๆ

(๕) เม่ือได้ดําเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุนสวัสดิการและการสงเคราะห์แล้ว ให้สรุปรายงาน ปลดกรุงเทพมหานครทราบเป็นประจําทุกเดือนที่มีการจ่ายเงิน

ขอ้ ๘ การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําฝากเงิน การตรวจเงิน การพัสดุ การสั่งก่อหนี้และการสั่งจ่ายเงิน ซึ่งนอกเหนือจากที่กําหนดไว้แล้วในระเบียบนี้

ให้ดําเนินการตามข้อบัญญัติ ระเบียบ กฎ ขอบังค ประกาศหรือคาส่ํ ังกรุงเทพมหานคร

ให้เสนอผ

ข้อ ๙ ในกรณีมีเหตุพิเศษสมควรปฏิบัติเป็นอย่างอื่น หรือท่ีไม่ได้กําหนดไว้ในระเบียบน้ี

่าราชการกรุงเทพมหานครพิจารณาสั่งการเป็นกรณี ๆ ไป

ข้อ ๑๐ บรรดาการเบิกจ่ายตามประเภทค่าใช้จ่ายที่อยู่ระหว่างการดําเนินการตามระเบียบ

กรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๔๑ อยู่ก่อนวันที่ ระเบียบน้ีใช้บังคับ ให้ดําเนินการเบิกจ่ายตามอัตรา และหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายที่กําหนดไว้ในบัญชีท้าย ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๔๑ ต่อไป จนกว่าจะแล้วเสร็จ

หน้า ๖

เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๗๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกรุงเทพมหานครรักษาการตามระเบียบน คําสั่ง เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

และให้มีอํานาจออกประกาศ

ประกาศ ณ วันท ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

รองผู

ผุสดี ตามไท

่าราชการกรุงเทพมหานคร รกษาราชการแทน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

- ๑ -

บัญชี ๑ ประเภทการเงิน

ลําดบที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๑.เงินสนับสนุนกิจกรรม ทางการศึกษาไม่เกิน ๓,๐๐๐.- บาท/คน/ปี ไม่เกิน ๓,๕๐๐.- บาท/คน/ปี ไม่เกิน ๔,๐๐๐.- บาท/คน/ปี

ไม่เกิน ๔,๕๐๐.- บาท/คน/ปี

ไม่เกิน ๕,๐๐๐.- บาท/คน/ปี | ก. เป็นผมู้ ีสญชาติไทย มีภูมิลําเนาอยู่ในเขต กรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน | | ๒. | ทุนฝึกอาชีพ | เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๔,๐๐๐.- บาท/ปี | | ๓. | ทุนประกอบอาชีพ | เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินครอบครวละ ๕,๐๐๐.- บาท/ปี |

- ๒ -

ลําดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๔.เงินช่วยเหลืออุปสมบท บรรพชาเบิกจ่ายได้เพียงครั้งเดียวเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๔,๐๐๐.- บาทก. เป็นผู้มีสญชาติไทย
๗.ค่าเบีย้ ยังชีพเบิกจ่ายตามอัตรา ตามมติคณะรฐมนตรี หรือคณะกรรมการตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกําหนดก. เป็นผมู้ ีสญชาติไทย มีภูมิลําเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบานข. มีอายุหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งได้ลงทะเบียน และย่ืนคําขอรบเบย้ี ยังชีพ ผู้สูงอายุต่อกรุงเทพมหานคร

- ๓ -

ลําดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๗.๒ เบียความพิการเบิกจ่ายตามอัตรา ตามมติคณะรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกําหนดค. ไม่เป็นผู้ไดร้ บสวัสดิการหรือสิทธิ- ประโยชน์อ่ืนใดจากหน่วยงานของรัฐ รฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ผูร้ บเงินบํานาญ เบี้ยหวัด บํานาญพิเศษ หรือเงินอ่ืนใด ในลักษณะเดียวกัน ผู้สูงอายุที่อยู่ใน สถานสงเคราะห์ของรัฐ หรือองค์กร

- ๔ -

ลําดบท่ีประเภทค่าใชจ้ ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลกเกณฑ์การเบิกจ่าย
๘.ค่าพาหนะในการส่งกลับภูมิลําเนาเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๑,๐๐๐.- บาทก. เป็นผูม้ ีสญชาติไทย ประสบปัญหา ความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือ ไรท้ ี่พึ่ง ประสงค์จะเดินทางกลับ ภูมิลําเนาเดิม
๙.ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวเน่ืองในการรักษาพยาบาล (ค่าใช้จ่ายท่ีเกี่ยวเนื่อง ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ระหว่าง รักษาพยาบาลเท่าที่จําเป็น)ไม่เกินครง้ั ละ ๑,๐๐๐.- บาท/คน และจะช่วยติดต่อกันได้ ไม่เกินสามครง้ั
๑๐.ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๗,๐๐๐.- บาท
๑๑.ค่าจ้างแรงงาน และค่าขนส่ง- ค่าจ้างแรงงาน เบิกจ่ายได้ตามอัตรา ค่าจางแรงงานขั้นต่ํา ตามที่กฎหมาย กําหนด- ค่าขนส่งเบิกจ่ายไดเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินครั้งละ ๑๐,๐๐๐.- บาท

- ๕ -

ลําดับท่ีประเภทค่าใช้จ่ายอตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๑๒.ค่าตอบแทนอาสาสมัคร และค่าตอบแทนที่ปรึกษา- เบิกจ่ายตามคุณวุฒิการศึกษา ตามอัตรา เงินเดือนขั้นตํ่าของบัญชีเงินเดือน ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามญั ท่ี ก.ก. กําหนด ทงั น้ี ตองไม่สูงกว่าคุณวุฒิ การศึกษาปริญญาตรี ที่มีหลักสูตร กําหนดเวลาการศึกษาไม่นอยกว่า ๔ ปี หรือเทียบเท่ากรณีผู้ไม่มีวุฒิการศึกษาตามวรรคแรก ใหเบิกตามอตราค่าจ้างขั้นต่ําตามที่ กฎหมายกําหนดอตราการเบิกจ่ายในวรรคแรกและ วรรคสองใหรวมเงินสมทบประกันสังคม ตามท่ีกฎหมายกําหนดไม่เกินคนละ ๖๐๐.- บาท/ชว่ โมง วันละไม่เกินสามช่วโมง สปดาห์ละ ไม่เกินสามวนั

ไม่เกินรางวลละ ๕,๐๐๐.- บาท ไม่เกินรางวัลละ ๔,๐๐๐.- บาทไม่เกินรางวลละ ๓,๐๐๐.- บาท ไม่เกินรางวลละ ๑,๐๐๐.- บาท | ก. อาสาสมัครที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกบั การจัดสวสดิการหรือการสงเคราะห์ ซึ่งปฏิบัติงานตามวนั เวลาราชการ หรือตามที่กรุงเทพมหานครกําหนด ไม่ตํ่ากว่าวนละแปดช่ัวโมงโดยใหเบิกจ่ายเฉพาะวันที่ปฏิบตั ิงาน ข. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็นเหมาะสม และประหยัด

ก. มีความรไู ม่ต่ํากว่าระดบปริญญาตรี และเคยปฏิบตั ิงานด้านการจัด สวัสดิการและการสงเคราะห์ไม่นอ้ ยกว่าห้าปีข. จ่ายเฉพาะเวลาให้คําปรึกษาโดยตรง ค. ต้องไดร้ ับการแต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครง. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยดั
ก. สําหรบผู้เขาร่วมการแข่งขันหรือ การประกวดกิจกรรมต่างๆ ท่ีจดโดย หน่วยงานของกรุงเทพมหานครข. ใหเบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด |

- ๖ -

ลําดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๑๔.

๑๕.

๑๖.

๑๗. | ๑๓.๒ ค่าเบี้ยเลีย้ ง | คนละ ๒๐๐.- บาท/วัน | ก. สําหรบบุคคลภายนอกที่ช่วยจัด กิจกรรม หรือจัดงานต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดสวสดิการหรือการสงเคราะห์ ในกรณีมีความจําเป็นจ่ายเกินอัตรา |

- ๗ -

ลําดับท่ีประเภทค่าใช้จ่ายอตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๑๘.๑๗.๒ ค่าเช่าที่พัก ค่าบํารุงและหรือ ค่าธรรมเนียมในการจดที่พัก ในสถานที่ของส่วนราชการ หรือภาคเอกชนเป็นผูจ้ ดัเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราตามท่ีระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าดวยค่าใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมและ ระเบียบกระทรวงการคลังกําหนดก. เป็นผู้มีสญชาติไทย มีภูมิลําเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้านข. ประสบปัญหาความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือไรท้ ่ีพึ่ง ยงไม่ได้รบความช่วยเหลือ เบื้องต้นจากหน่วยงานใดค. ใหเบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัดก. เป็นผมู้ ีสญชาติไทย มีภูมิลําเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบานข. ประสบปัญหาความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือไรท้ ี่พ่ึง ยังไม่ได้รบความช่วยเหลือ เบื้องต้นจากหน่วยงานใดค. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็นเหมาะสม และประหยัด
๑๙.ค่าแว่นประกอบสายตาเบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๑,๐๐๐.- บาท/ปี

- ๘ -

บัญชี ๒ ประเภทส่ิงของ

ลําดับที่ประเภทค่าใชจ้ ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลกเกณฑ์การเบิกจ่าย
๑.วสดุงานบ้านงานครัวเบิกจ่ายได้เท่าที่จําเป็น ไม่เกินศูนย์ละ ๑๐,๐๐๐.- บาท

เบิกจ่ายไดเท่าท่ีจ่ายจริง

เบิกจ่ายไดเท่าท่ีจ่ายจริง เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง

เบิกจ่ายไดเท่าที่จ่ายจริง

ไม่เกินคนละสองชุด/ปี

เบิกจ่ายไดเฉล่ียไม่เกินคนละ๑๐๐.- บาท

เบิกจ่ายไดเท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินชินละ ๑,๒๐๐.- บาท | ก. เบิกจ่ายได้ครงั เดียวยกเว้นกรณีชํารุด หรือเส่ือมสภาพ เนื่องจากการใช้งาน ใหเบิกจ่ายทดแทนได้ข. ใหเบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัดเบิกจ่ายไดเฉพาะกรณีที่จําเป็น เหมาะสม และประหยัด
เบิกจ่ายไดเฉพาะกรณีที่จําเป็น เหมาะสม และประหยัด เป็นค่าใช้จ่ายในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ให้คนในชุมชนได้รับทราบถึงการให้บริการ ของหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ โดยให้คํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัดเบิกจ่ายในกิจกรรมดานสุขภาพอนามัย ของคนในชุมชน โดยให้คํานึงถึงความ จําเป็น เหมาะสม และประหยัดก. เป็นผู้มีสญชาติไทย ประสบปัญหา ความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือ ไรท้ ี่พึ่งข. ใหเบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยดัก. จัดซื้อไว้ประจําศูนย์สงเคราะห์เด็ก และศูนย์สรางโอกาสเด็กที่ดําเนินการ โดยหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร และให้เบิกจ่ายได้ปีละครัง้ข. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัดก. สําหรบใชในกิจกรรมท่ีหน่วยงาน ของกรุงเทพมหานครเป็นผูด้ ําเนินการข. ใหเบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด |

- ๙ -

ลําดับท่ีประเภทค่าใช้จ่ายอตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
๗.

๘. | ๖.๒ เกียรติบัตรพร้อมปก | เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินชินละ ๒๕๕.- บาท เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินชิ้นละ ๑๐๐.- บาท เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินชิ้นละ ๑๐๐.- บาท เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง | ก. สําหรับใช้ในกิจกรรมท่ีหน่วยงาน ของกรุงเทพมหานครเป็นผู้ดําเนินการข. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัดก. เป็นผูม้ ีสญชาติไทย มีภูมิลําเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้านข. ประสบปัญหาความเดือดรอน ยากจน และ/หรือไร้ที่พึ่ง ยังไม่ได้รบความ ช่วยเหลือเบืองต้นจากหน่วยงานใดค. ให้เบิกจ่ายโดยคํานึงถึงความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด |

หนา ๖

เลม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๒๙๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓ ธันวาคม ๒๕๖๔

ระเบียบกรุงเทพมหานคร

ว่าดว้ ยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2564

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกรุงเทพมหานครว่าดว้ ยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๖ ข้อ ๗ และข้อ ๘ แห่งข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงกําหนดระเบียบขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564”

ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในลําดับที่ 3 ทุนประกอบอาชีพ ลําดับท 5 เงินช่วยเหลือกรณีเร่งด่วน

และจําเป็น ลําดับที่ 9 ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องในการรักษาพยาบาล (ค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ระหว่างรักษาพยาบาลเท่าที่จําเป็น) ลําดับที่ 15 ค่าใช้จ่าย ในการจัดเลี้ยงอาหารตามความจําเป็น แห่งบัญชี 1 ประเภทการเงิน ตามบัญชีท้ายระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความตามบัญชี ท้ายระเบียบนี้แทน

ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์ พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“ข้อ 6 การจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ตามข้อ 5 ให้ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม หรือผู้อํานวยการเขต แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ผู้อํานวยการสํานักงาน สวัสดิการสังคมหรือผู้ช่วยผู้อํานวยการเขต แล้วแต่กรณี เป็นประธาน และกรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่าสามคน โดยให้มีอํานาจหน้าท่ีดําเนินการเกี่ยวกับการพิจารณาอนุมัติให้ความช่วยเหลือหรือดําเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการหรือการสงเคราะห์”

ประกาศ ณ วนที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕64 พลตํารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

บัญชี 1 ประเภทการเงิน

ล าดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
3.ทุนประกอบอาชีพเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินครอบครัวละ 5,000.- บาท/ปีก. เป็นผู้มีสัญชาติไทย มีภูมิล าเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน
ล าดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
5.เงินช่วยเหลือกรณีเร่งด่วน และจ าเป็น- ค่าอาหารไม่เกิน ๑๕๐.- บาท/คน/วัน เป็นเวลาไม่เกินสิบห้าวันก. ส าหรับเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ที่ประสบปัญหา ความเดือดร้อน ยากจน ไร้ที่พึ่ง ถูกกระท ารุนแรง จ าเป็นต้องได้รับการ ช่วยเหลือเร่งด่วน หรือผู้เข้ารับบริการ ที่พักอาศัยอยู่ในสถานที่ที่ด าเนินการ โดยหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร

- 2 -

ล าดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
9.ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวเนื่องในการรักษาพยาบาล (ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ระหว่าง รักษาพยาบาลเท่าที่จ าเป็น)ไม่เกินครั้งละ ๕,๐๐๐.- บาท/คน/ปีก. เป็นผู้มีสัญชาติไทย มีภูมิล าเนาอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบา้ น
ล าดับที่ประเภทค่าใช้จ่ายอัตราการเบิกจ่ายหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย
15.ค่าใช้จ่ายในการจัดเลี้ยงอาหาร ตามความจาเป็นเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน ๑๕๐.- บาท/คน/วันก. ส าหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่จัดโดย หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร หรือ

[

](mnre.go.th)

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบทอี่ อกกฎหมาย/ประกาศ/

ระเบียบ เพื่อรับรองการด�าเนินงาน ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้**ไขเพิ่มเติม
**

[dla](dla.go.th)

หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในการออกกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ เพื่อรับรองการด�าเนินงานตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

หน่วยงานทรศัพท์ / โทรสาร
๑.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนคงของมนุษย์โทรศัพท์ : ๐ ๒๖๔๒ ๔๓๓๖ - ๙ โทรสาร : ๐ ๒๖๔๒ ๔๓๓
๒.กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๐๐
๓.กระทรวงคมนาคมโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๘๓ ๓๐๐๐
๔.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๗๘ ๘๕๐๐
๕.กระทรวงมหาดไทยโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๔๑๓๑ โทรสาร : ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๔๑๐๒-๓ เว็บไซด์ : www.dla.go.thโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๐๑ ๘๐๐๐ , ๐ ๒๒๙๙ ๔๐๐๐ โทรสาร : ๐ ๒๒๗๓ ๐๘๙๕เว็บไซด์ : www.dpt.go.th
๖.กระทรวงยุติธรรมโทรศัพท์ : ๐ ๒๑๔๑ ๒๘๓๑
๗.กระทรวงแรงงานโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๓๒ ๑๔๖๒-๓ , ๑๔๗๖
หน่วยงานโทรศัพท์ / โทรสาร
๘. กระทรวงวัฒนธรรมโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๙๒-๙๕ โทรสาร : ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๙๑
๙. กระทรวงศึกษาธิการโทรศัพท์ : ๐ ๒๖๒๘ ๖๓๔๖
๑๐. กระทรวงสาธารณสุขโทรศัพท์ : ๐ ๒๕๙๐ ๑๐๐
๑๑. กระทรวงกลาโหมโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๒๒ ๘๘๓๕
๑๒. กรุงเทพมหานครโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๔๕ ๕๑๖๕ , ๐ ๒๒๔๗ ๙๔๕๐,
๓. ส�านักงานพระพุทธศาสนาโทรศัพท์ : ๐ ๒๔๔๑ ๗๙๙๙
๑๔. กระทรวงการคลังโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๗๒ ๘๐๐๐
๑๕. อัยการสูงสุดโทรศัพท์ : ๐ ๒๑๔๒ ๑๔๓๖ , ๐ ๒๑๔๒ ๑๔๔๔
๑๖. ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติโทรศัพท์ : ๐ ๒๒๐๗ ๖๐๐๐

ค�าสั่งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ที่๒/๒๕๖๓ เรื่องแต่งตั้ง**คณะอนุกรรมการติดตามสิทธิผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖
**

รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

238 รวมกฎหมาย/ประกาศ/ระเบียบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง